Page 6 -
P. 6

ิ
                                                  ์
                                     ิ
                                                                                ิ
                                   ื
                                                                    ิ
              โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                            บทน า


                                                                                          ู
                                                                                                          ์
                 เอกสารค าแนะนาการวิจัยข ้าวโพดในระดับไร่-นาเกษตรกรฉบับนี้  ได ้นาความร้และประสบการณจาก

                                                 ื่
                 ที่ได ้ปฏิบัติงานข ้าวโพดอย่างต่อเนองมากว่า  50  ป  ทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน  ทั้งในประเทศและ
                                                                ี
                                                                                                ็
                 ในต่างประเทศ         มาท าการรวบรวมวิธีการทดลองและวิธีการการบันทึกข ้อมูลให ้เปนมาตรฐานใน
                 ระดับชาติและในระดับสากล ทั้งการทดสอบพันธุ์ข ้าวโพดในการใช ้ ประโยชน์จากเมล็ดและประโยชน์
                                                                     ั
                                                                                                        ั
                 จากข ้าวโพดหมัก การทดสอบพันธุ์ข ้าวโพดรับประทานฝกสด ทั้งข ้าวโพดหวานและข ้าวโพดฝกอ่อน

                                                                                                        ๋
                                                                        ั
                 รวมทั้งได ้มีข ้อแนะนาในการทดสอบพันธุ์ที่มีสหสัมพันธ์ต่อปจจัยการผลิต   อันได ้แก่การใช ้ ปุยและ

                                ้
                                         ั
                 การใช ้ สารเคมีปองกันก าจดวัชพืช และแนะนาในการผลิตเมล็ดพันธุ์ลูกผสมเพื่อการค ้า ที่ส าคัญที่สุด
                                           ั

                 เอกสารฉบับนี้ได ้แนะนาให ้นกวิจัยในระดับไร-นาเกษตรกร       นาผลจากการทดลองไปจัดท าแปลง

                                                          ่
                                                                                        ั
                 สาธิตและการถ่ายทอดเทคโนโลยีในรูปแบบต่างๆ  อันจะเกิดประโยชน์กับนกวิจัยในระดับสถานีวิจัย
                      ั
                 กับนกพัฒนาผลิตภัณฑ์ของพันธุ์ข ้าวโพด  (product  development)  และกับนกพัฒนาการตลาด
                                                                                             ั
                 เมล็ดพันธุ์ข ้าวโพด (market development) อีกด ้วย

                 ตัวอย่างแห่งความส าเรจของงานวิจัยในระดับไร-นาเกษตรกร         คือการพัฒนาข ้าวโพดพันธุ์สุวรรณ
                                       ็
                                                             ่
                 2301  ซึ่งเปนพันธุ์ข ้าวโพดลูกผสมพันธุ์แรกของประเทศไทย  ที่ได ้รับการปรับปรุงพันธุ์และพัฒนา
                              ็
                 พันธุ์โดยโครงการวิจัยของศูนย์วิจัยข ้าวโพดและข ้าวฟางแห่งชาติ  จนประสบความส าเร็จในปี  2523
                                                                   ่
                 และได ้ถูกนาไปทดสอบโดยโครงการแปลงสาธิตในระดับไร-นาเกษตรกร  (ศ.  11)  ร่วมกับโครงการ

                                                                        ่
                                                                                    ี
                 ทดสอบพันธุ์ของทั้งภาครัฐและภาคเอกชนเปนเวลาอย่างต่อเนื่องหลายป              หลังจากที่ได ้มีการ
                                                           ็
                 รวบรวมข ้อมูลผลผลิตจากการทดสอบพันธุ์ รวมทั้งข ้อมูลบูรณาการการเขตกรรม การอารักขาพืชและ
                 ข ้อมูลเชิงเศรษฐศาสตร์ เห็นว่า ข ้าวโพดลูกผสมพันธุ์น จะเปนประโยชน์อย่างยิ่ง ในการเพิ่มผลผลิต
                                                                         ็
                                                                    ี้
                                                               ็
                 และรายได ้ให ้กับเกษตรผู้ปลูกข ้าวโพด  รวมทั้งเปนการเพิ่มผลผลิตโดยรวมของประเทศอีกดัวย  ดั้ง

                                                                                      ้
                                                                                      ี
                 น้น   ศูนย์วิจัยข ้าวโพดแลข ้าวฟางแห่งชาติ   จึงได ้นาเสนอข ้อมูลเหล่านต่อคณะกรรมการสภาวิจัย
                                               ่
                   ั
                 แห่งชาติ และได ้รับรางวัล “สิ่งคิดค ้น/ สิ่งประดิษฐ์ ซึงเปนประโยชน์แก่ชาติ” ในปี 2532
                                                                     ็



                                                                                                  ั
                 จึงเห็นได ้ว่า ผลส าเรจของการวิจัยอันจะเปนประโยชน์ต่อเกษตรกรและต่อประเทศชาติน้น จะต ้องมา
                                     ็
                                                        ็
                 จากการวิจัยทั้งในระดับสถานีวิจัย  (On-Station  Research)  ร่วมกับการวิจัยในระดับไร-นาเกษตรกร
                                                                                                 ่
                 (On-Farm Research)

                 ขอขอบคุณทั้งนกวิจัยอาวุโสและนกวิจัยรุ่นใหม่     ที่ได ้ให ้ข ้อมูลและภาพถ่ายจ านวนหนึ่ง   ท าให ้
                                ั
                                                 ั

                                                                                              ็
                 เอกสารทันสมัยและสมบูรณยิ่งขึ้น  หวังเปนอย่างยิ่งว่าเอกสารค าแนะนาฉบับนี้  จะเปนประโยชน์กับผู้
                                           ์
                                                       ็
                                                                                        ็
                 นาไปประยุกต์ใช ้   ขอให ้ระลึกเสมอว่า  การวิจัยในระดับไร-นาเกษตรกรน้น  เปนทั้งศาสตร์และศิลปที่
                                                                                                           ์
                                                                                    ั
                                                                      ่

                 ไม่มีค าตอบและวิธีการที่ตายตัว  ผลที่ได ้รับจากการปฏิบัติจะเกิดมาจากการสังเกตุทั้งด ้านพันธุกรรม
                 และสภาพแวดล ้อมของข ้าวโพด  รวมทั้งความสัมพันธ์ที่ดีที่มีต่อเกษตรกรผู้ร่วมโครงการด ้วย  ขอให ้

                                                     ็
                 ผู้นาไปประยุกต์ใช ้  จงประสบความส าเรจต่อตนเอง ต่อเกษตรกร และต่อประเทศชาติในล าดับต่อไป

                                                                               ศ. ดร. ราเชนทร์ ถิรพร
                                                                                   กุมภาพันธ์ 2568

                                                               5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11