Page 31 -
P. 31

ิ
                                   ื
              โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                               ิ
                                                                                ิ
                                                                    ิ
                                                  ์

                                    คาอธิบายการบันทึกข ้อมูล ตารางที่ 1


                                                                                             ็
            จานวนต ้นหลังการถอนแยก (Number of Plants after Thinning): ทันทีที่ถอนแยกเสรจ จะทาการ

            นบจานวนต ้นต่อแถวในแต่ละแปลงย่อยของ 2 แถวกลาง (แถวที่ 2-R2 และแถวที่ 3-R3 ในกรณีที่
             ั

            ปลูก 4 แถวต่อแปลงย่อย)
            การระบาดของโรคและแมลงคร้งที่  1  (First  Diseases  and  Pest  Scoring):  เมื่อข ้าวโพดอายุได ้
                                         ั
            28-30  วันหลังปลูก  ท าการบันทึกข ้อมูลจากการสังเกตุด ้วยสายตาของการระบาดของโรคและแมลง
            ศัตรูที่ส าคัญของข ้าวโพด  อันได ้แก่  โรครานาค ้าง/  โรคใบลาย  (Downy  Mildew-DM)  โรคใบไหม ้
                                                      ้
                                                                           ๊
                                                                                          ็
                                                                                        ู
            (Leaf Blight ) หนอนกระทู ้ (Corn Borror) และอื่นๆ (Others) เช่นตักแตน นก หนเปนต ้น
                               ็
            การบันทึกข ้อมูลจะเปนการให ้คะแนน (scoring) ในแต่ละแปลงย่อย 1 – 5 โดยคะแนน 1 = มีการ
            ระบาดท าลายน้อยกว่า 10% ในขณะทีคะแนน 3 = มีการระบาดท าลายประมาณ 50% และคะแนน
                                                ่
            5 = มีการระบาดท าลายมากกว่า 70%
            วันโปรยละอองเกสรและวันออกไหม 50 เปอร์เซ็นต์ (Days to 50% Anthesis and 50% Silking):

            เมื่อสังเกตุเห็นว่าช่อดอกตัวผู้  มีการโปรยละอองเกสร  (Anthesis)  จานวน  50  เปอร์เซ็นต์  ของช่อ
            ดอกทั้งหมดในแต่ละแปลงย่อย ทาการบันทึกข ้อมูลวันออกดอก “Days to 50% Anthesis” ในขณะ



            ที่ เมื่อต ้นข ้าวโพดในแต่ละแปลงย่อย มีการออกไหมยาว 1-2 cm จานวน 50 เปอร์เซ็นต์ของจานวน
            ต ้นทั้งหมด ท าการบันทึกข ้อมูลวันออกไหม “Days to 50% Silking) การบันทึกข้อมูลลักษณะการ
            ออกดอกนี้ ควรกระท าทุกวันและในเวลาเดียวกัน
            ลักษณะสีของช่อดอกและสีของไหม  (Colors  of  Flowers):  ใขณะที่มีการบันทึกข ้อมูลวันออกดอก

            จะทาการบันทึกลักษณะทางพันธุกรรมของดอกด ้วย  โดยสีของช่อดอกตัวผู้  W  =  White,  Y  =
            Yellow  และ P =  Purple  ในขณะที่  สีของไหมที่ไหมมีความยาว  2-3  cm  คือ W  =  White, P =
            Pink และ R = Red










                   นับจานวนต้น       วันออกดอกและลักษณะดอก   วัดความสูงต้น/ ฝัก      บันทึกลักษณะต้น/ฝัก

            การระบาดของโรคและแมลงคร้งที่ 2 (Second Diseases and Pest Scoring): เมื่อข ้าวโพดอายุได ้
                                         ั
            75-80  วันหลังปลูก  หรือ  3-4  สัปดาห์หลังวันออกไหม  จะทาการบันทึกข ้อมูลจากการสังเกตุด ้วย

            สายตาของการระบาดของโรคและแมลงศัตรูที่ส าคัญของข ้าวโพด  อันได ้แก่  โรคใบไหม ้  (Leaf
            Blight)  โรคราสนิม  (Rust)  หนอนเจาะล าต ้นและฝก  (Corn  Borror)  และเพลี้ยอ่อน  (Aphids)
                                                            ั
            รวมทั้งศัตรูอื่นๆ เช่น นกและหนู (Birds & Mouses) เปนต ้น การบันทึกข ้อมูลจะเปนการให ้คะแนน
                                                                ็
                                                                                         ็
            (scoring) ในแต่ละแปลงย่อย 1 – 5 โดย 1 = มีการระบาดทาลายน้อยกว่า 10% ในขณะที่คะแนน

            3 = มีการระบาดท าลายประมาณ 50% และคะแนน 5 = มีการระบาดท าลายมากกว่า 70%
                                                            ็
            ลักษณะรูปทรงต ้น  (Plant  Aspects  Scoring):  เปนการสังเกตุลักษณะอันพึงประสงค์  (Aspects)
                                                             ่

                                                                                                    ่
                                                                                   ่
            ของล าต ้นทั้งต ้นอันเกิดจากพันธุกรรม ได ้แก่ความสมาเสมอของต ้น ความสมาเสมอของต าแหนงฝก
                                                                                                      ั

            ล าต ้นตั้งตรงหรือเอน ใบตั้งหรือเอน ใบกว ้างหรือแคบ และลักษณะต ้นและใบเขียวสด (stay green)

            การบันทึกลักษณะรูปทรงต ้น จะทาการให ้คะแนน (scoring) 1 – 5 โดยคะแนน 1 = พอใจมากที่สุด
            ในขณะที่คะแนน 3 = พอใจปานกลาง และคะแนน 5 = พอใจน้อยที่สุด
                     ั
            ลักษณะฝก (Ear Aspects Scoring): ในระยะก่อนการเก็บเกี่ยว 2-3 วัน หรือในวันที่บันทึกลักษณะ
                                                                                      ั
            รูปทรงต ้น ทาการให ้คะแนน (scoring) ลักษณะอันพึงประสงค์ (Aspects) ของฝก ได ้แก่ ขนาดของ

                       ่
            ฝก ความสมาเสมอ และความสมบูรณ์ของกาบหุ ้มฝก โดยทาการให ้คะแนน  (scoring) 1 – 5 โดย
             ั

                                                           ั

            คะแนน  1  =  พอใจมากที่สุด  ในขณะที่คะแนน  3  =  พอใจปานกลาง  และคะแนน  5  =  พอใจน้อย
            ที่สุด

                                                        30
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36