Page 69 -
P. 69
ิ
ิ
ุ
ั
ิ
ื
์
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
62
ตารางที่ 4.12 แสดงผลการทดสอบค่าความแปรปรวนของอาจารย์ จ าแนกตามระดับการศึกษา
ควำมพึงพอใจที่มีต่อสภำพภูมิทัศน์พื้นที่ SS Df MS f Sig.
ภำยในมหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ บำงเขน
ระหว่างกลุ่ม 2.593 1 2.593 3.422 .087
ภายในกลุ่ม 9.850 13 .758
รวม 12.443 14
*มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
จากตารางที่ 4.12 แสดงผลการทดสอบค่าความแปรปรวนของอาจารย์ ที่ส่งต่อความพึงพอใจ
ื้
ที่มีต่อสภาพภูมิทัศน์พนที่ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน จ าแนกตามระดับการศึกษา
พบว่า มีค่า Sig. มากกว่า 0.05 แสดงว่า ยอมรับสมมติฐาน (H0) และปฏิเสธสมมติฐาน (H1)
หมายความว่า ระดับการศึกษาของอาจารย์ที่แตกต่างกัน ส่งต่อความพงพอใจที่มีต่อสภาพภูมิทัศน์
ึ
พื้นที่ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ไม่แตกต่างกัน
ี
2.4 รำยได้เฉลี่ยต่อเดือนของอำจำรย์ที่แตกต่ำงกัน ส่งต่อควำมพึงพอใจที่มต่อสภำพภูม ิ
ทัศน์พื้นที่ภำยในมหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ บำงเขน แตกต่ำงกัน
สามารถเขียนสมมติฐานได้ดังนี้
H0 : รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของอาจารย์ที่แตกต่างกัน ส่งต่อความพงพอใจที่มีต่อสภาพภูมิทัศน์
ึ
พื้นที่ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ไม่แตกต่างกัน
ึ
H1 : รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของอาจารย์ที่แตกต่างกัน ส่งต่อความพงพอใจที่มีต่อสภาพภูมิทัศน์
พื้นที่ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน แตกต่างกัน
สถิติที่ใช้ในการทดสอบ จะใช้การทดสอบด้วยการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว
(One Way Analysis of Variance : One Way ANOVA) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยเริ่มจากการ
ทดสอบความแปรปรวนจากตาราง ANOVA จะยอมรับสมมุติฐาน (H1) ก็ต่อเมื่อค่าระดับนัยส าคัญ
ทางสถิติมีค่าน้อยกว่า 0.05 หากค่าแปรปรวนของข้อมูลทุกกลุ่มไม่เท่ากันจะท าการทดสอบความ
ื่
แตกต่างด้วยวิธีการทดสอบแบบ Scheffe’s เพอหาว่าคู่เฉลี่ยใดบ้างแตกต่างกันที่ระดับนัยส าคัญทาง
สถิติ 0.05 ผลการทดสอบสมมติฐาน มีดังนี้