Page 70 -
P. 70
ิ
ิ
ุ
ั
์
ื
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ิ
ิ
63
ตารางที่ 4.13 แสดงผลการทดสอบค่าความแปรปรวนของของอาจารย์ จ าแนกตามรายได้เฉลี่ยต่อเดือน
ควำมพึงพอใจที่มีต่อสภำพภูมิทัศน์พื้นที่ SS Df MS f Sig.
ภำยในมหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ บำงเขน
ระหว่างกลุ่ม 3.512 3 1.171 1.442 .284
ภายในกลุ่ม 8.931 11 .812
รวม 12.443 14
*มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
จากตารางที่ 4.13 แสดงผลการทดสอบค่าความแปรปรวนของของอาจารย์ ที่ส่งต่อความพง
ึ
พอใจที่มีต่อสภาพภูมิทัศน์พนที่ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน จ าแนกตามรายได้เฉลี่ยต่อ
ื้
เดือนพบว่า มีค่า Sig. มากกว่า 0.05 แสดงว่า ยอมรับสมมติฐาน (H0) และปฏิเสธสมมติฐาน (H1)
หมายความว่า รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของอาจารย์ที่แตกต่างกัน ส่งต่อความพงพอใจที่มีต่อสภาพภูมิ
ึ
ทัศน์พื้นที่ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ไม่แตกต่างกัน
ี
ิ
สมมติฐำนที่ 3 ปัจจัยส่วนบุคคลของบุคลำกร ส่งต่อควำมพึงพอใจที่มต่อสภำพภูมทัศน์
พื้นที่ภำยในมหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ บำงเขน
3.1 เพศของบุคลำกรที่แตกต่ำงกันส่งต่อควำมพึงพอใจที่มต่อสภำพภูมทัศน์พื้นที่ภำยใน
ี
ิ
มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ บำงเขน แตกต่ำงกัน
สามารถเขียนสมมติฐานได้ดังนี้
ึ
ื้
H0 : เพศของบุคลากรที่แตกต่างกันส่งต่อความพงพอใจที่มีต่อสภาพภูมิทัศน์พนที่ภายใน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ไม่แตกต่างกัน
ื้
H1 : เพศของบุคลากรที่แตกต่างกันส่งต่อความพงพอใจที่มีต่อสภาพภูมิทัศน์พนที่ภายใน
ึ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน แตกต่างกัน
ื่
สถิติที่ใช้ในการทดสอบ จะใช้การทดสอบค่า t (Independent Sample t-test) เพอใช้
ทดสอบกลุ่มตัวอย่าง บุคลากรที่ส่งต่อความพงพอใจที่มีต่อสภาพภูมิทัศน์พนที่ภายใน
ื้
ึ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ดังนั้น จะยอมรับสมมติฐาน (H1) ก็ต่อเมื่อ Sig มีค่าน้อยกว่า
0.05 ผลการทดสอบสมมติฐาน แสดงดังนี้