Page 30 -
P. 30
ิ
์
ิ
ั
ิ
ุ
ิ
ื
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
23
ท างานย่อมก่อให้เกิดความไม่ชอบงาน ผู้ชายมีความต้องการเรื่องนี้สูงกว่าผู้หญิง และเมื่ออายุมากขึ้น
ความต้องการเกี่ยวกับเรื่องนี้จะลดลง
8. ลักษณะทางสังคม องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับความต้องการเป็นส่วนหนึ่งของสังคมหรือ
ึ
การให้สังคมยอมรับตน ซึ่งจะก่อให้เกิดทั้งความพึงพอใจและความไม่พงพอใจได้ ถ้างานใดผู้ปฏิบัติงาน
ั
ร่วมกับผู้อนได้อย่างมีความสุข ก็จะเกิดความพงพอใจในงานนั้นองค์ประกอบนี้มีความสัมพนธ์กับอายุ
ื่
ึ
และระดับงาน ผู้หญิงจะเห็นว่าองค์ประกอบนี้ส าคัญมากกว่าชาย
9. การติดต่อสื่อสาร ได้แก่ การรับ-ส่งข้อมูลสารสนเทศ ค าสั่ง การท ารายงาน การติดต่อทั้ง
ภายในและภายนอกหน่วยงาน องค์ประกอบนี้มีความส าคัญมากส าหรับผู้ที่มีระดับการศึกษาสูง
10. ผลตอบแทนที่ได้รับจากการท างาน ได้แก่ เงินบ าเหน็จตอบแทนเมื่อออกจากงานการ
บริการและการรักษาพยาบาล สวัสดิการอาหาร ที่อยู่ วันหยุดพักผ่อนต่าง ๆ
สามารถสรุปได้ว่า ความพงพอใจคืออารมณ์เชิงบวกที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึกพอใจ ความชื่น
ึ
ชม และการยอมรับ มักเกิดจากการบรรลุเป้าหมายหรือความคาดหวัง ความพงพอใจยังสามารถเกิด
ึ
จากประสบการณ์เชิงบวก ถ้าหากผลตอบแทนที่ได้รับจริงมากกว่า ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ
ย่อมจะก่อให้เกิดความพึงพอใจขึ้น ซึ่งความพอใจจะมากหรือน้อยหรือไม่พึงพอใจนั้น
กำรวัดควำมพึงพอใจ
นิธิพร คงแก้ว (2563) ได้ศึกษาการวัดความพึงพอใจ สามารถท าได้หลายวิธีดังต่อไปนี้
1. การใช้แบบสอบถาม โดยผู้ออกแบบสอบถาม ต้องการทราบความคิดเห็นซึ่งสามารถ
ิ
กระท าได้ในลักษณะก าหนดค าตอบให้เลือก หรือตอบค าถามอสระ ค าถามดังกล่าว อาจถามความ
พอใจในด้านต่าง ๆ เพอให้ผู้ตอบทุกคนมาเป็นแบบแผนเดียวกัน มักใช้ในกรณีที่ต้องการข้อมูลกลุ่ม
ื่
ตัวอย่างมาก ๆ วิธีนี้นับเป็นวิธีที่นิยมใช้กันมากที่สุดในการวัดทัศนคติ รูปแบบของแบบสอบถามจะใช้
มาตรวัดทัศนคติ ซึ่งที่นิยมใช้ในปัจจุบันวิธีหนึ่ง คือ มาตราส่วนแบบลิเคิร์ท ประกอบด้วยข้อความที่
แสดงถึงทัศนคติของบุคคลที่มีต่อสิ่งเร้าอย่างใดอย่างหนึ่งที่มีค าตอบที่แสดงถึงระดับความรู้สึก 5
ค าตอบ ดังนี้
ระดับ 5 หมายถึง มากที่สุด
ระดับ 4 หมายถึง มาก
ระดับ 3 หมายถึง ปานกลาง
ระดับ 2 หมายถึง น้อย
ระดับ 1 หมายถึง น้อยที่สุด