Page 11 -
P. 11
ั
ิ
ื
ิ
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ุ
์
4
ขอบเขตกำรวิจัย
การวิจัยครั้งนี้ได้ก าหนดขอบเขตของงานวิจัยไว้ ดังนี้
1. ขอบเขตด้านเนื้อหา การวิจัยครั้งนี้มุ่งวิเคราะห์ ความคาดหวังของนิสิต อาจารย์ และ
บุคลากรต่อการพัฒนาสภาพภูมิทัศน์พื้นที่ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ทั้งนี้การศึกษานี้
เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยการศึกษาจากแบบสอบถาม
(Questionnaire) มีขอบเขตด้านเนื้อหาโดยมุ่งศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาสภาพภูมิทัศน์
ึ
ื้
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความพงพอใจ ข้อมูลเกี่ยวกับบุคลากรภายในเขตพนที่มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์บางเขน และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเท่านั้น
2. ขอบเขตด้านประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง
(Purposive Sampling) คือ นิสิต จ านวน 36,778 คน อาจารย์ จ านวน 2,579 คน และบุคลากร
จ านวน 4,471 คน รวมทั้งสิ้น 43,828 คน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2566) ดังนั้น กลุ่มตัวอย่างที่
ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้ก าหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักการค านวณกลุ่มตัวอย่างของทาโร ยา
มาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 หรือค่าความคลาดเคลื่อนที่ 0.05 (Yamane, 1960) ได้กลุ่ม
ตัวอย่างจ านวน 400 คน โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เลือกการสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้ความ
น่าจะเป็น (Nonprobability sampling) ซึ่งเป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอญ (Accidental
ิ
sampling)
ื้
ื้
3. ขอบเขตด้านพนที่ การวิจัยครั้งนี้ใช้พนที่ในการศึกษา คือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บางเขน
ประโยชน์ที่ได้รับ
1. ได้ทราบถึงความพงพอใจที่มีต่อสภาพภูมิทัศน์พนที่ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ื้
ึ
บางเขน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัยในการปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ให้ดีขึ้น โดยการปรับปรุง
พื้นที่สีเขียว เพิ่มพื้นที่ส าหรับพักผ่อนหย่อนใจ และพัฒนาภูมิทัศน์ให้สวยงามยิ่งขึ้น
ื้
ึ
2. ได้ทราบถึงปัจจัยที่มีผลต่อความพงพอใจที่มีต่อสภาพภูมิทัศน์พนที่ภายใน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัยในการปรับปรุงสภาพภูมิ
ทัศน์ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บริการและประชาชนทั่วไป