Page 94 -
P. 94
ิ
ิ
ื
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
์
ิ
2-57
วันที่ 21 กุมภาพันธ 2549 คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบตามที่ คณะกรรมการ
ิ
ํ
ิ
ั
บริหารโครงการลุมนาภาคตะวนออกรายงานผลการดาเนนโครงการแกไขวกฤตขาดแคลนนา
้ํ
้ํ
ิ
ุ
ภาคตะวันออกปพ.ศ.2549 ที่คณะรัฐมนตรีมีมติอนมัตจํานวน 28 โครงการ วงเงินลงทุนจํานวน 7,620.50ลานบาท
ิ
ซึ่งผลการดาเนนงานมีโครงการที่ไดดาเนนการแลวเสร็จจํานวน 11 โครงการวงเงิน 932.85 ลานบาท
ํ
ิ
ํ
้ํ
ิ
้ํ
้ํ
เปนโครงการเพิ่มนาตนทุน ผันนาและกระจายนาในชวงวกฤตจํานวน 8 โครงการ สามารถเพิ่มนาตนทุนในชวง
้ํ
้ํ
ิ
ิ
วกฤตได 51.4 ลาน ลบ.ม.หรือเปนตนทุนการจัดหานาเพิ่มเตมเฉลี่ยประมาณ 18.15 บาท/ลบ.ม.
จาก 3 โครงการ คือ (1) การขุดเจาะน้ําบาดาลเพื่อการอุปโภคบริโภคและอุตสาหกรรม จํานวน 415 บอ
ิ
้ํ
ปริมาณน้ํา 206,198 ลบ.ม./วัน (2) การวางทอผันน้ําคลองทับมา-คลองนาหู-นคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด
ผันน้ําได 100,000 ลบ.ม./วัน และ (3) การวางทอผันน้ําแมน้ําระยองเชื่อมตอระบบทอดอกกราย-มาบตาพุด
ที่มาบขา เทศบาลมาบขาสามารถผันน้ําได 120,000 ลบ.ม./วัน สวนโครงการที่เหลือยังดําเนินการไมแลว
เสร็จเนื่องจากความลาชาในการดําเนินงานและการคัดคานของราษฎรในพื้นที่สําหรับสถานการณนาภาค
้ํ
้ํ
ั
้ํ
ตะวนออกป พ.ศ. 2549 มีปริมาณนาตนทุนในอางเก็บนา 11 อางในพื้นที่จังหวดระยองและชลบุรี
ั
ณ วันที่ 11 มกราคม 2549 มีปริมาณรวมกันเทากับ 245 ลาน ลบ.ม. หรือคดเปนรอยละ 60 ของความจุอาง
ิ
้ํ
ั
้ํ
้ํ
เก็บนาทั้งหมด และในปลายป พ.ศ.2549 จะยงมีปริมาณนาตนทุนเหลือในอางเก็บนาตางๆ รวมกันเปน
้ํ
ปริมาณอยางนอย 247 ลาน ลบ.ม. อยางไรก็ตามจะไดตดตามสถานการณนาอยางตอเนองรวมทั้ง
ิ
ื่
้ํ
ประมาณการปริมาณความตองการนาและปริมาณนาที่สามารถจัดหาไดเพื่อใชในการวางแผนบริหาร
้ํ
จัดการนาใหเกิดเสถยรภาพและสมดลในระยะยาว นอกจากนคณะกรรมการฯ ไดมอบหมายใหกระทรวง
้ํ
ี้
ี
ุ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมกระทรวงเกษตรและสหกรณ และฝายเลขานการคณะกรรมการฯรวมกัน
ุ
จัดทําประมาณการความตองการน้ํา (Demand) แยกเปนความตองการน้ําแตละประเภทและศักยภาพน้ํา
ตนทุน (Supply) ที่จะพัฒนาไดในลุมน้ําภาคตะวันออกโดยไมกอใหเกิดผลกระทบทางลบตอความสมดล
ุ
ของระบบนิเวศโดยจะพิจารณาดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 90 วัน เพื่อใชในการจัดทําแผนแมบทการบริหาร
ุ
ี่
ิ
ั
วนท 19 มิถนายน 2555 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบและอนมัต เรื่อง แผนการ
ุ
แกไขปญหามาบตาพุดอยางครบวงจร โดยมี 8 แนวทาง คือ
(1) ลดและขจัดมลพิษตอเนื่อง มุงสูสิ่งแวดลอมสะอาด โดย (1) พัฒนา
ื่
ิ
ระบบขอมูลและระบบติดตามเฝาระวังคุณภาพสิ่งแวดลอม ใหมีประสิทธภาพและโปรงใส และเชอมโยง
้ํ
ระหวางภาครัฐและเอกชน (2) พัฒนาและปรับปรุงระบบจัดการนาเสียและขยะทั้งในและนอกพื้นที่เขต
อุตสาหกรรมบริเวณมาบตาพุดและพื้นที่โดยรอบอยางครบวงจร (3) วางระบบการจัดการกากของเสีย
ิ
อันตราย (4) สนบสนนการลดและขจัดมลพิษจากแหลงกําเนดอุตสาหกรรมในพื้นที่ (5) เตรียมความ
ั
ุ
พรอมในการปองกันและบรรเทาอุบัติภัยอยางตอเนื่อง และ (6) ฟนฟูและอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ
ิ
ี้
ิ
ั่
ื
สิ่งแวดลอมใหเกิดการพัฒนาอยางยงยน ทั้งน แนวทางนจะสอดคลองกับแผนปฏบัตการลดและขจัด
ี้
ั
มลพิษในเขตควบคุมมลพิษ จังหวัดระยอง พ.ศ. 2555-2559 ซึ่งจังหวดระยองและหนวยงานที่เกี่ยวของ
อยูระหวางการนําเสนอคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาต ิ
ิ
ุ
(2) ยกระดับบริการสาธารณสุขเฉพาะโรคและคณภาพชวต ปรับปรุง
ี
ี่
และยกระดบบริการสาธารณสุขเชยวชาญเฉพาะโรค และวางระบบขอมูลเพื่อจัดเตรียมโครงสรางพื้น
ั
ํ
ฐานรองรับจํานวนประชากรแฝงในพื้นที่ โดย (1) สนับสนุนการดาเนนงานของศนยอาชวเวชศาสตรและ
ู
ิ
ี
ิ
เวชศาสตรสิ่งแวดลอม จังหวัดระยอง (2) พัฒนาระบบบริการปกตใหสามารถรองรับความเจ็บปวยจาก
ั
ุ
ี
ั
ุ
สิ่งแวดลอม (3) สนบสนนการเฝาระวงสุขภาพของประชาชนในเขตควบคมมลพิษและบริเวณใกลเคยง
อยางตอเนอง (4) ปรับฐานขอมูลทะเบียนราษฎรใหทันสมัยพรอมสําหรับการเฝาระวงสุขภาพ
ั
ื่