Page 93 -
P. 93
ิ
์
ิ
ื
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
2-56
วันที่ 2 สิงหาคม 2548 คณะรัฐมนตรีมีมตดงน เห็นชอบตามที่รองนายกรัฐมนตรี
ี้
ั
ิ
(นายพินิจ จารุสมบัต) เสนอกรอบแนวทางการดําเนินงานเพื่อการบริหารจัดการน้ําในลุมน้ําภาคตะวันออก
ิ
้ํ
้ํ
้ํ
้ํ
้ํ
4 ลุมนา (ลุมนาชายฝงทะเลตะวนออกลุมนาปราจีนบุรี ลุมนาบางปะกง และลุมนาโตนเลสาบ)
ั
ั
ของสํานกงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต (สศช.) ประกอบดวย การแกไข
ิ
ปญหาในระยะเรงดวน โดยเรงรัดการดําเนินโครงการผันน้ําตางๆ ใหแลวเสร็จเพื่อใหสามารถนําน้ําทาจาก
ิ
้ํ
ิ
ธรรมชาติมาใชประโยชนโดยเร็วภายในระยะวกฤตนาขาดแคลนครึ่งหลังของป พ.ศ. 2548 และเตมนา
้ํ
ิ
ึ้
้ํ
ตนทุน โดยเพิ่มประสิทธิภาพการกักเก็บของแหลงที่มีอยูแลวและแหลงนาธรรมชาตใหมากขน และการแกไข
ปญหาในระยะสั้นและระยะปานกลาง
วันที่ 29 พฤศจิกายน 2548 คณะรัฐมนตรีมีมตรับทราบตามที่กระทรวงเกษตรและ
ิ
ั
้ํ
สหกรณ รายงานสรุปการเตรียมรับปญหาขาดแคลนนาในภาคตะวนออกในฤดแลงป 2549 และ
ู
้ํ
สถานการณน้ําทวมในภาคใต โดยในสวนของจังหวัดชลบุรีไดมีการเตรียมรับปญหาขาดแคลนนาป 2549
โดยแตงตั้งคณะกรรมการปรับเกณฑการใชน้ําและจัดสรรน้ําจังหวัดชลบุรีเพื่อพิจารณาปรับปรุงเกณฑการ
ใชน้ําและการจัดสรรน้ําใหเหมาะสมกับสถานการณน้ําตนทุนที่มีอยู และพิจารณาวางแนวทอเพิ่มปริมาณ
นาใหกับโรงกรองนามาบประชนและชากนอก รวมทั้งกอสรางแนวทอผันนาจากแมนาบางปะกง สวน
้ํ
้ํ
ั
้ํ
้ํ
ั
้ํ
จังหวัดระยอง ใหมีการแตงตั้งคณะทํางานเฉพาะกิจ เพื่อจัดทําแผนการบริหารจัดการนาในพื้นที่จังหวด
ระยอง คณะกรรมการปรับเกณฑการใชน้ําและจัดสรรน้ําจังหวัดระยอง และคณะกรรมการประชาสัมพันธ
้ํ
ึ
รวมทั้งใหกรมชลประทานเรงศกษาแนวทางการจัดการนาอยางเปนระบบและเรงประชาสัมพันธให
ึ
ิ
ํ
ประชาชนทราบถงแนวทางการดาเนนการวางทอประแสร สําหรับสถานการณนาทวมภาคใต ไดแก
้ํ
ิ
ี
ู
จังหวัดประจวบครีขนธ สงขลา พัทลุง ยะลา นครศรีธรรมราช ตรัง สุราษฎรธาน สตล และนราธวาส
ั
ี
สถานการณน้ําทวมไดลดลงและเขาสูสภาวะปกติแลว
ิ
วนท 10 มกราคม 2549 สํานกเลขาธการคณะรัฐมนตรีเสนอขอมูลของ
ั
ี่
ั
ั
ั
กระทรวงเกษตรและสหกรณเกี่ยวกับแผนการบริหารจัดการน้ําป2549 ในพื้นที่จังหวดชลบุรีและจังหวด
ระยอง ดังนี้ จังหวัดชลบุรีความตองการใชน้ําทุกกิจกรรม รวม 132.774 ลานลูกบาศกเมตร/ปปริมาณน้ําในอาง
เก็บน้ําทั้ง 7 แหง ณ วันที่ 1 ธันวาคม 2548 รวม 82.798ลานลูกบาศกเมตร ภายหลังจากสงน้ําสนับสนุนการ
ื
ี
้ํ
้ํ
้ํ
ใชนาทุกกิจกรรมกรณไมไดดาเนนการใดๆ แลวปริมาณนาคาดการณรายเดอนคงเหลือในอางเก็บนามี
ํ
ิ
้ํ
เพียงพอโดยไมกอใหเกิดภาวะขาดแคลนจนสิ้นฤดูแลงและกรณีดําเนินการผันน้ําจากแมนาบางปะกงและ
้ํ
จากคลองนครเนื่องเขต จังหวัดฉะเชิงเทราจะสามารถเพิ่มเติมปริมาณน้ําคงเหลือในอางเก็บนาไดมากขน
ึ้
ั
้ํ
ในสวนของจังหวดระยองความตองการใชนาทุกกิจกรรม รวม 278.061 ลานลูกบาศกเมตร/ป ซึ่งรวม
ุ
ั
้ํ
ปริมาณนาที่ตองสนบสนนชวยเหลือพื้นที่จังหวดชลบุรีปริมาณนาในอางเก็บนาหลักทั้ง 4 แหง ณ วนที่ 1
ั
้ํ
้ํ
ั
ี
ธันวาคม 2548 รวม 194.60 ลานลูกบาศกเมตรภายหลังจากสงน้ําสนับสนุนการใชน้ําในทุกกิจกรรมกรณไมได
้ํ
ดําเนินการใดๆ ปริมาณน้ําคาดการณคงเหลือนอยที่สุดจะเกิดขนในเดอนสิงหาคม 2549 คอมีปริมาณนา
ื
ื
ึ้
จํานวน 67.80 ลานลูกบาศกเมตร หรือคิดเปนรอยละ 25 ของความจุอางฯทั้งหมดที่ระดบเก็บกักปกตซึ่ง
ิ
ั
มีปริมาณเพียงพอโดยไมกอใหเกิดภาวะขาดแคลนกรณีดําเนินการตามมาตรการเรงดวน (2 สิงหาคม 2548)
มาตรการเสริมและและการผันน้ําจากอางเก็บน้ําประแสร จะสามารถเพิ่มเติมปริมาณน้ําคงเหลือในอางเก็บน้ําไดมากขึ้น