Page 48 -
P. 48
ิ
ิ
์
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
2-11
้ํ
ั้
ั
ู
ั
3) ที่สูงชนและภเขา เปนเขตที่มีความสูงจากระดบนาทะเลตงแต
ึ
ึ้
ั
ื
200 เมตรขนไป ครอบคลุม อาณาบริเวณสวนใหญของพื้นที่ศกษา มักจะทอดตวในแนวเหนอใตสลับ
กับที่ราบ ยอดเขาที่สูง ไดแก เขาสอย ดาวใตมีความสูงประมาณ 1,600 เมตร ภเขาสวนใหญเปนภเขา
ู
ู
หินแกรนิต หินดาดโซฟลไลทและหินปูน
ู
ั้
4) เกาะตางๆ ประกอบดวยเกาะใหญนอย อยหางจากชายฝงตงแต
ั
2-40 กิโลเมตร มีมากกวา50 เกาะ เกาะขนาดใหญและที่สําคัญมีจํานวนมากกวา 15 เกาะ เชน เกาะสีชง
ั
ั
และเกาะลาน ในจังหวดชลบุรี เกาะเสม็ดในจังหวดระยอง และหมูเกาะชางในจังหวดตราด เปนตน
ั
(รูปที่ 2-5)
ระบบลุมน้ํา
้ํ
ลักษณะของลํานาสวนใหญในพื้นที่ลุมนาเปนลํานาสายสั้นๆ ไหลสูทะเล อาวไทย
้ํ
้ํ
้ํ
ั
้ํ
ลําน้ําสายสําคัญๆ ไดแก แมน้ําประแสรคลองใหญคลองวงโตนด แมนาจันทบุรีและแมนาตราด การแบง
ึ
้ํ
ึ
ลุมนาสาขาในลุมนาชายฝงทะเลตะวนออก ไดกําหนดตามผลการศกษาของโครงการศกษาสํารวจ
ั
้ํ
ออกแบบสถานอุทกวทยา 25 ลุมนาหลักของประเทศไทย ของกรมทรัพยากรนา (2554) โดยพิจารณา
ี
้ํ
้ํ
ิ
้ํ
ื
หลักเกณฑการแบงขอบเขตลุมน้ําสาขา การเรียกชอลุมนา ลํานา และการกําหนดรหัสลุมนา โดยยดถอ
ึ
้ํ
ื่
้ํ
ู
ิ
ํ้
ิ
ุ
้ํ
“มาตรฐานลุมนาและลุมนาสาขา” ของคณะอนกรรมการศนยขอมูลสารสนเทศอุทกวทยา (นาผิวดน)
้ํ
ภายใตคณะกรรมการอุทกวิทยาแหงชาติ (ปจจุบันไดรวมอยูในกรมทรัพยากรน้ํา) ซึ่งปรากฏอยูในรายงาน
ผลการวิจัย เรื่อง ทะเบียนประวัติและแผนที่แสดงตําแหนงสถานีอุทกวิทยาและอุตุนิยมวิทยาในประเทศไทย
ิ
(กุมภาพันธ 2539) เปนแนวทางในการดําเนินงาน และไดทําการปรับเพิ่มเตมหลักเกณฑบางประการให
ชัดเจนและสมบูรณขึ้น โดยมีการนําขอมูลจากแหลงตางๆ มาพิจารณารวม ไดแก แผนที่การแบงขอบเขต
ลุมน้ําของหนวยงานตางๆใน ระบบ GIS รายงานการศึกษา แผนที่แสดงขอบเขตพื้นที่ชลประทาน แนวคัน
กั้นนาทวม และการสํารวจสนาม ในบางพื้นที่ รวมทั้งไดใชแผนที่ภมิประเทศมาตราสวน 1:50,000 ชด
ู
ุ
้ํ
ั
ปจจุบันจากกรมแผนที่ทหารมาใชในการกําหนดขอบเขตลุมน้ํา ซึ่งแบงพื้นที่ลุมน้ําชายฝงทะเลตะวนออก
ออกเปน 6 ลุมน้ําสาขา (สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ําและการเกษตร, 2555ค: 1-2)
(4) พื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออก
ั
ั
ื
ภาคตะวนออกมีพื้นที่ชายฝงทะเลอยใน 5 จังหวด คอ ตราด จันทบุรี ระยอง ชลบุรี
ู
ิ
และฉะเชงเทรา มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 3,993,470 ไร มีพื้นที่มากที่สุดในจังหวดฉะเชงเทรา 1,203,173 ไร
ิ
ั
นอยที่สุดในพื้นที่ระยอง จํานวน 480,872 ไร ดังรายละเอียดในตารางที่ 2-3