Page 53 -
P. 53

ื
                                                                             ิ
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                 ิ
                                               ์
                                            ิ
                                  ิ
                                                                                                 2-16

               ยุคพรีแคมเบรียนและหินปูนยุคเพอรเมียนแบบรอยเลื่อนสัมผัส หินทั้งสองแนวนี้ไมอาจระบุอายุที่แนนอนได  
                                                                                                
               เนองจากพบวามีหินบางสวนวางตวอยใตชนหินปูนยคเพอรเมียน เชน ที่เขาเรวด บริเวณอางเก็บนา
                            
                                                 ู
                                                                                     ี
                                                                                                    ้ํ
                 ื่
                                             ั
                                                   
                                                    ั้
                                                            ุ
                                                                          
                                                                                                 ุ
               บางพระ จังหวัดชลบุรี และที่บริเวณอําเภอแกลง จังหวัดระยอง ดังนั้นอายุของหินเหลานี้อาจมีอายลงไป
               ถึงชวงยุคคารบอนิเฟอรัส
                                                                ิ
                       หินมหายุคพาลีโอโซอิกตอนบน ในหินยุคคารบอนเฟอรัส ไมพบซากดึกดําบรรพที่บอกอายุได 
               แนนอน ดังนั้นอายุหินสวนหนึ่งอาจจะคาบเกี่ยวลงไปถึงยุคดีโวเนียนตอนปลาย หรือขึ้นไปถงยุคเพอร
                                                                                          ึ
               เมียนตอนตนก็ได หินยุคคารบอนิเฟอรัสมีอยู 3 แนวคือ (1) แนวชลบุรี -สัตหีบ (2) แนวพนัสนิคม-แกลง
               และ (3) แนวกบินทรบุรี-สระแกว-จันทบุรี-ตราด
                               (1) แนวชลบุรี-สัตหีบ อยทางตะวนตกของหินไนสชลบุรี วางตวตอเนองมาจาก
                                                                                       ั
                                                     ู
                                                             ั
                                                                                             ื่
                                                                                         
               หินดินดานสัตหีบขึ้นไปจนถึงหินปูนและหินดินดานที่อางเก็บน้ําบางพระ ยุคเพอรเมียนตอนกลาง
                              (2) แนวพนสนคม-แกลง แยกจากแนวชลบุรีโดยหินพื้นฐานซับซอน หรือกลุมหินไนส
                                          ิ
                                        ั
                                                                    ื
                                                                                    ิ
               หินไมกาชีสต คั่นระหวางกลางของแนวที่สอง ที่บริเวณตอนเหนอของเขาใหญ หินดนดาน และหินทราย
               มีแนวเรียงตัวสีเทาดํา หินปูนเปนรูปเลนสและหินเชิรต มีแนววางตัวในทิศตะวันตกเฉยงเหนอ-ตะวนออก
                                                                                           ื
                                                                                                ั
                                                                                     ี
               เฉียงใต พบซากดึกดําบรรพไบรโอซัว (bryozoa) ชื่อ Penniretepora sp., Fenestella cf.F. triserialis,
               Fenestella sp., Polypora sp., และแบรคิโอพอด ชื่อ Cleiothyridina sp. รวมทั้งซากดึกดําบรรพกาน
                                         ุ
                                                   ิ
                                                                
                         
               ไครนอยด (crinoid stem) ยคคารบอนเฟอรัสตอนตน (สมัย Early Visean-Late Tournaisian)
                                                                              ั
                                                                                                    ั
                              (3) แนวจันทบุรี-ตราด บริเวณตะวนออกของฝงทะเลตะวนออกในเขตระหวางจังหวด
                                                                                             
                                                          ั
               สระแกว-โปงนารอน-จันทบุรี ใกลชายแดนประเทศกัมพูชา มีแนวของหินแอมฟโบไลตชสต หินฮอรน
                                                                                         
                                                                                          ี
                            ้ํ
                                                                                             
               เบลนดชีสต หินควอรตซชีสต และหินทัฟฟแปรสภาพ หินออนรูปเลนส หินเมตาเชิรต (เรดโอลาเรียน-เชรต)
                                                                                       ิ
                                                                                                   ิ
               และหินฟลไลตสีแดง พบซากดึกดําบรรพยุคเพอรเมียนในหินปูน บริเวณจังหวัดสระแกว หินยุคเพอรเมียน
               แบงออกไดเปน 3 แนว คลายกับหินยุคคารบอนิเฟอรัส ไดแก แนวชลบุรี-สัตหีบ ที่เขาเรวดีใกลอางเก็บน้ํา
                                                                           ิ
                                                      ิ
                                                                               ั้
               บางพระ ประกอบดวยชนของหินทราย หินดนดาน หินปูนและมีหินเชรตชนบางแทรกสลับ ในหินปูน
                                    ั้
                                
               มีซากดึกดําบรรพ Pseudoschwagerina cf. P. regularis ฟอแรมินเฟอรา และสาหราย ยคเพอรเมียน
                                                                        ิ
                                                                                           ุ
               ตอนกลาง แนวพนสนคม-แกลง ในหินดนดานที่เขาอีพริ้ง มีซากดกดาบรรพ Leptodus sp.  ยคเพอร
                               ั
                                                                         ํ
                                                                       ึ
                                                                                                ุ
                                  ิ
                                                 ิ
                                                                                              
                                                           ั
                                                                                  ี้
                                                              ิ
               เมียนตอนปลาย สําหรับแนวชลบุรี-สัตหีบ และพนสนคม-แกลง ทั้งสองแนวนเรียกรวมกันวา แนวศรี
               ราชา-แกลง แนวจันทบุรี-สระแกว แบงไดเปน 2 ตอน คอ ทางดานจังหวดสระแกว-อรัญประเทศ
                                                                                ั
                                                                         
                                                     
                                                                 ื
                                                                                                  ิ
               และกบินทรบุรี-โปงน้ํารอน-จันทบุรี-ตราด เปนบริเวณที่ชั้นหินวางตัวกันซับซอนเพราะเปนเขตธรณวทยา
                                                                                                 ี
                                                  ึ
                                       ิ
                                                              ิ
                               
                                                    ํ
                                                                                         ู
               สัณฐานประกอบดวย หินเชรตที่มีซากดกดาบรรพเรดโอลาเรีย หินปูน หินทราย หินภเขาไฟและหิน
               บะซอลตรูปหมอน วางตัวอยูบนหินอัลตราเมฟก กลุมหินทั้งหมดเรียกรวมกันวา สระแกวโอฟโอไลต
                                                                                                 ้ํ
                       หินมหายุคมีโซโซอิก ประกอบไปดวยหมวดหินเนินโพธิ์ยุคไทรแอสซิกและหมวดหินโปงนารอน
                                                                                                
                                                         ั
                                        ื่
                                               ื่
                                                 
               และหมวดหินเนนผูใหญเยอ ซึ่งเชอวาสะสมตวในสภาวะแวดลอมตะกอนนาพารูปพัดใตทะเล
                                                                                    ้ํ
                              ิ
                                                                                   ั
               (submarine fans) ของกระแสน้ําโบราณที่ไหลจาก ทิศตะวนออกไปทางทิศตะวนตก และในหมวดหิน
                                                                  ั
               แหลมสิงห หมวดหินภูกระดึง และหมวดหินพระวิหาร ประกอบดวยชั้นหินสีแดงซึ่งเชื่อวามีภาวะแวดลอม
                                                                                                ั
                                                                               ้ํ
               การสะสมตะกอนแบบตะกอนแมน้ําบนบก โดยมีทิศทางการไหลของกระแสนาโบราณจากทิศตะวนออก
               ไปทิศตะวันตก ทิศตะวันตกเฉียงใตและทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตามลําดับ
                             ี
                           ั
                       หินอคนบริเวณภาคตะวันออกแบงไดเปน 3 แนว
                                                                                                    ั
                       แนวแรกอยทางดานตะวนตกของภาค ปกคลุมพื้นที่ทางดานทิศตะวนออกเฉยงใตของจังหวด
                                                                       
                                                                                            
                                                                                       ี
                                                                                ั
                                 ู
                                     
                                           ั
               ชลบุรีลงมายังจังหวัดระยอง เปนหินแกรนิตมวลไพศาล เนื้อหินหยาบปานกลางถึงเนื้อดอก
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58