Page 38 -
P. 38

์
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                 ิ
                                                                             ิ
                                            ิ
                                  ิ
                               ื
                                                                                                   2-1

                                                       บทที่ 2

                                            สถานภาพของภาคตะวันออก

                                                                                                     0
                                                                                0
                                                                       0
                       ภาคตะวนออกตงอยระหวางเสนรุง (Latitude) ที่ 12  และ 14 เหนอ เสนแวงที่ 101
                                     ั้
                                         ู
                                                                                     ื
                              ั
                                               
                       0
               และ 103  ตะวนออกมีเนอที่ทั้งหมด 21,487,812 ไร (กรมแผนที่ทหาร, 2521: 13) ครอบคลุมพื้นที่
                                     ื้
                             ั
               7 จังหวัด คือ ตราด จันทบุรี ระยอง ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี และสระแกว สาระสําคัญที่จะทบทวน
                      ี้
                                                                                                ี
                                                                                                  ิ
                                                                    ู
                                     ื
                                                    ู
               ในบทนจะมี 10 เรื่อง คอ (1) ลักษณะภมิประเทศ (2) ภมิสัณฐานและลักษณะทางธรณวทยา
               (3) การปกครองและประชากร (4) ภูมิอากาศ (5) การคมนาคม (6) ทรัพยากรธรรมชาตและสิ่งแวดลอม
                                                                                        ิ
                                          ั
                                                                                  ั
               (7) อุตสาหกรรมในภาคตะวนออก (8) สภาวะเศรษฐกิจและสังคม (9) ศกยภาพในการพัฒนา
               และ (10) ปญหาที่ตองมีการแกไข โดยมีรายละเอียดดังน  ี้

               2.1 ลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันออก
                                                       ื
                                                                     ู
                       หัวขอนจะมีสาระสําคญรวม 4 เรื่อง คอ (1) ลักษณะภมิประเทศ (2) ทิวเขาในภาคตะวนออก
                                         ั
                             ี้
                                                                                                ั
               (3) ลุมน้ําในภาคตะวันออก และ (4) พื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออก โดยมีรายละเอียดดังน  ี้
                       2.1.1 ลักษณะภูมิประเทศ
                       กรมทรัพยากรธรณี (2565: 1) ไดรายงานถึงลักษณะภูมิประเทศและภูมิสัณฐานของภาคตะวันออกไวดังน  ี้
                                                                    
                                                                          
                               “บริเวณภาคตะวันออกครอบคลุมพื้นที่ตงแตตอนใตของเทือกเขาเพชรบูรณและขอบ
                                                                ั้
                                                                                              
                                                                                 ั
               ที่ราบสูงโคราชตอเนื่องลงมาจนถึงขอบอาวไทยตอนบน บริเวณนี้อยูในเขตจังหวดชลบุรี ระยอง จันทบุรี
               ตราด รวมทั้งบางบริเวณของจังหวัดฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี และสระแกว โดยมีทิวเขาบรรทัด ทางตอนบน
               ของภาคตะวันออกมีลักษณะเปนที่ราบและพื้นที่ลอนลาดอยูระหวางเทือกเขา ที่เปนขอบที่ราบสูง โคราช
               กับเทือกเขาตอนกลางของภาคตะวนออก พื้นที่ลอนลาดในบริเวณนมีความสูงประมาณ 50-150 เมตร
                                                                         ี้
                                             ั
               จากระดับน้ําทะเลปานกลาง
                              ทางตอนกลางของภาคตะวันออกมีลักษณะเปนเทือกเขาและภูเขาสูงสลับกับที่ราบและ
               พื้นที่ลอนลาด วางตัวอยในแนวเหนือ-ใต เทือกเขาสูง ไดแก เทือกเขาจันทบุรี มียอดเขาสอยดาวเปนยอด
                                   ู
                                                                                                    ้ํ
                                                                               ี้
                                                 ้ํ
                                              ั
                      ื
               สูงสุด คอสูง 1,640  เมตร จากระดบนาทะเลปานกลาง พื้นที่ราบบริเวณนขนานเปนแนวไปกับแมนา
                                                                                        ั
                                                                                                 
                                                                               ้ํ
               ลําธารสายหลัก ซึ่งประกอบดวยที่ราบตะกอนนาพาและลานตะพักลํานาซึ่งมีระดบที่แตกตางกัน
                                          
                                                          ้ํ
                                                                                                ั้
               ลานตะพักลํานาขนตามีความสูงประมาณ 5-20 เมตร จากระดบนาทะเลปานกลาง ลานตะพักลํานาขนกลาง
                            ้ํ
                                                                                              ํ้
                                                                 ั
                                                                    ้ํ
                                 ่ํ
                              ั้
               มีความสูง 20-30 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง และลานตะพักลํานํ้าขั้นสูงมีความสูงประมาณ 30-100 เมตร
               จากระดับน้ําทะเลปานกลาง
                                                                                                    
                                                     ั
                              ทางตอนลางของภาคตะวนออกมีลักษณะเปนพื้นที่ลอนลาดสลับกับที่ราบ ซึ่งตอ
               เนื่องมาจากบริเวณที่เปนภูเขา ปรากฏเปนแนวแคบๆ ขนานไปกับชายฝงทะเล ตั้งแตจังหวัดชลบุรี ระยอง
               จันทบุรี จนถึงจังหวัดตราด พื้นที่โดยทั่วไปมีความสูงประมาณ 1-50 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง
                              บริเวณชายฝงทะเล เปนที่ราบเรียบอยูระหวางพื้นที่เชิงเขาหรือพื้นที่ลอนลาดขนานกับ
                                                                                                  ิ
               ชายฝงทะเลภาคตะวนออก เกิดจากการสะสมตวของชนตะกอนจากนาทะเลที่รุกเขามาในแผนดนใน
                                                                           ้ํ
                                                        ั
                                                              ั้
                                                                                       
                                 ั
               บริเวณที่เปนที่ราบเชิงเขาหรือพื้นที่ลอนลาดเดิม มีความกวางประมาณ 5-10 กิโลเมตร จากขอบอาวไทย
               ปจจุบัน ประกอบดวยพื้นที่สันทราย (sand ridge) ทั้งเกาและใหม ซึ่งเกิดจากการกระทําของนาทะเล
                               
                                                                                                ้ํ
               และลม พื้นที่ชะวากทะเล (estuary) พื้นที่ลากูน (lagoon) ดินดอนสามเหลี่ยมและลานตะพักทะเล พื้นที่
               เหลานี้มีความสูงประมาณ 1-10 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43