Page 33 -
P. 33

์
                                                                 ิ
                                                                             ิ
                                            ิ
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                               ื
                                  ิ
                                                                                                       1-9

                         บทที่ 8 การถอดบทเรียนผลกระทบจากโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก
               (Eastern Seaboard : ESB)

                           ในการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก (Eastern Seaboard : ESB) ได้ส่งผลให้มีการ
               เปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ที่สามารถถอดเป็นบทเรียนได้ รวม 7 เรื่อง คือ
               (1) ความเห็นภายหลังการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกของผู้มีส่วนได้เสียในปัจจุบัน (2) ผลกระทบ
               ทางด้านเศรษฐกิจ (3) ผลกระทบด้านสังคม (4) ผลกระทบด้านสุขภาพ (5) ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม

               (6) การคัดค้านของประชาชน และ (7) การแก้ไขปัญหามลพิษในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด

                       บทที่ 9 สถานภาพและทัศนคติของเกษตรกรและผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มอื่นๆ ในภาคตะวันออกต่อ
               แนวคิดการคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรม
                       สาระส าคัญ :  เป็นการส ารวจสถานภาพและทัศนคติของเกษตรกรและผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มอื่นๆ เช่น
               นักธุรกิจด้านการท่องเที่ยว ธุรกิจซื้อขายที่ดิน ธุรกิจการเกษตร นักวิชาการ  และเจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


                       บทที่ 10 ศักยภาพของพื้นที่การเกษตรในภาคตะวันออก
                       สาระส าคัญ : เป็นการประเมินศักยภาพของพื้นที่การเกษตรในภาคตะวันออก โดยระบบ FAO
               โดยจ าแนกเป็น (1) เขตเกษตรกรรมชั้นดี (2) เขตเกษตรกรรมที่มีศักยภาพการผลิตสูง และ (3) เขต
               เกษตรกรรมที่มีศักยภาพการผลิตต่ า


                       บทที่ 11 การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการเชื่อมโยงการคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรม
               กับอุตสาหกรรมอาหารในภาคตะวันออก
                       สาระส าคัญ :  เป็นการวิเคราะห์โดยระบบการบริหารจัดการโดยปัจจัย 5 ประการ คือ (1) การเมือง
               (2) เงื่อนไขทางสังคม (3) สถาบัน (4) เศรษฐศาสตร์ และ(5) วิชาการ และโดยระบบ DPSIR

                        บทที่ 12 แนวทางการคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรมที่เชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมอาหารในภาคตะวันออก
                       สาระส าคัญ : แนวทางการคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรมที่เชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมอาหารในภาค
               ตะวันออก รวม 8 ประการ คือ (1) การก าหนดเป้าหมายพื้นที่ที่จะคุ้มครอง (2)  การแก้ไขปัญหาความเป็นธรรม
               ในการบังคับใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยการตรากฎหมายขึ้นใหม่ คือ “การซื้อสิทธิในการพัฒนา”  ในลักษณะ “ภาระจ ายอม”

               (3) การจัดตั้งกองทุนเพื่อซื้อสิทธิในการพัฒนา (4) การจัดตั้ง Food Valley ในภาคตะวันออก (5) การใช้ Soft
               Power  สนับสนุนพื้นที่ที่ขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์และการแปรรูปสินค้า OTOP ในปัจจุบัน (6) จัดท า
               แผนปฏิบัติการที่เชื่อมโยงระหว่าง “การคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรมและการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร”

               (7) การศึกษาเพื่อหาสมดุลระหว่างพื้นที่การผลิตวัตถุดิบกับอุตสาหกรรมอาหาร และการศึกษาความเป็นไปได้
               ในการน ามาตรการ “การซื้อสิทธิในการพัฒนา”  ในลักษณะ “ภาระจ ายอม” และ (8)  การส่งเสริมให้เกษตรกร
               ลงทุนร่วมกับส านักงานเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

                       บทที่ 13 สรุป
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38