Page 35 -
P. 35
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ื
์
ิ
ิ
1-11
บทที่ 1 บทน า ได้กล่าวถึงที่มา ความส าคัญ รวมทั้งหลักการและเหตุผลในการวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย กรอบแนวคิด ค าจ ากัดความและวัตถุประสงค์
บทที่ 2 สถานภาพของภาคตะวันออก สาระส าคัญในบทนี้จะทบทวนถึงสถานภาพของภาคตะวันออก รวม 10 เรื่อง คือ (1) ลักษณะภูมิประเทศ
(2) ภูมิสัณฐานและลักษณะทางธรณีวิทยา (3) การปกครองและประชากร (4) ภูมิอากาศ (5) การคมนาคม (6) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(7) อุตสาหกรรมในภาคตะวันออก (8) สภาวะเศรษฐกิจและสังคม (9) ศักยภาพในการพัฒนา และ (10) ปัญหาที่ต้องมีการแก้ไข
บทที่ 3 การพัฒนาภาคตะวันออก สาระส าคัญของบทนี้จะเป็นการทบทวนการพัฒนาภาคตะวันออกที่ด าเนินการมาจากอดีตถึงปัจจุบัน โดยจะครอบคลุมรวม
5 เรื่อง คือ (1) แนวคิดในการพัฒนาพื้นที่เฉพาะ (2) การพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก (Eastern Seaboard: ESB) (3) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
(Special Economic Zone: SEZ) (4) เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) และ (5) กรอบพัฒนาภาคตะวันออก พ.ศ. 2566-2570
บทที่ 4 การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในภาคตะวันออก การพัฒนาบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก (Easters Seaboard ESB) การประกาศเขตพัฒนา
เศรษฐกิจ (Special Economic Zone SEZ) และการประกาศเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก : Eastern Economic corridor : EEC) มีผลให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในภาคตะวันออกโดยพื้นที่ป่าไม้และป่าชายเลนบางส่วนลดลงเพื่อน ามาใช้เพื่อการเกษตร ซึ่งต่อมาพื้นที่การเกษตรที่ใช้อยู่ก่อนการ
ุ
พัฒนาเข้ามาด าเนินการก็มีการเปลี่ยนแปลงบางส่วนไปเป็นชุมชนและโรงงานอตสาหกรรมเช่นเดียวกัน เพื่อล าดับเหตการณ์การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวในบทนี้จะ
ุ
มีการทบทวนสาระส าคัญรวม 7 เรื่อง คือ (1) การประกาศใช้ผังเมืองของจังหวัดต่างๆ ในภาคตะวันออก (2) การซื้อขายที่ดินในภาคตะวันออก (3) การจัดที่ดิน
ท ากินในพื้นที่ภาคตะวันออก (4) การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินจากโครงการพัฒนาของรัฐ (5) การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินจากโครงการอสังหาริมทรัพย์และ
อุตสาหกรรม (6) การส ารวจการใช้ที่ดินในภาคตะวันออก พ.ศ. 2564/2565 และ(7) การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินภาคตะวันออกในภาพรวม
บทที่ 5 แนวคิดการจัดตั้ง Food Valley ในประเทศไทย การส่งเสริมอุตสาหกรรมอาหารในประเทศไทย ได้มีนโยบายมาอย่างต่อเนื่อง เช่น โครงการครัวไทย
ุ
สู่ครัวโลก รวมทั้งการจัดตั้ง Thailand Food Valley ที่มีความเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมเกษตร อตสาหกรรมการแปรรูป การทบทวนในบทนี้จึงมีสาระส าคัญ
รวม 4 เรื่อง คือ (1) อุตสาหกรรมเกษตร (2) อุตสาหกรรมอาหารในประเทศไทย (3) ศักยภาพอุตสาหกรรมอาหารในประเทศไทย และ(4) แนวคิดการจัดตั้ง
Food Valley ในประเทศไทย
บทที่ 6 การคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรมในประเทศไทย การทบทวนวรรณกรรมในบทนี้จะมีสาระส าคัญ รวม 7 เรื่อง คือ (1) นโยบายของรัฐด้านการเกษตร
ในปัจจุบัน (2) นโยบายการคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรมในประเทศไทย (3) ผลการด าเนินการคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรม (4) ปัญหาในการด าเนินการ (5) ทางเลือก
ในการคุ้มครองพนที่เกษตรกรรมในอนาคต (6) ข้อเสนอเพื่อด าเนินการในอนาคต และ (7) ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรม พ.ศ. ....
ื้
บทที่ 7 ประสบการณ์นานาชาติในการคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรมและการจัดตั้ง Food Valley ประสบการณ์นานาชาติที่จะทบทวนในบทนี้จะมีสาระส าคัญ
3 เรื่อง คือ (1) การคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรม (2) ประสบการณ์นานาชาติเรื่อง Food Valley (3) การถอดบทเรียนนานาชาติเรื่องการคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรม
และการจัดตั้ง Food Valley มาใช้ในภาคตะวันออก (4) การสังเคราะห์การด าเนินการในประเทศไทยกับประสบการณ์นานาชาติในการคุ้มครองพื้นที่
เกษตรกรรมและการจัดตั้ง Food Valley
ื้
บทที่ 8 การถอดบทเรียนผลกระทบจากโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก (Eastern Seaboard : ESB) ในการพัฒนาพนที่ชายฝั่งทะเล
ตะวันออก (Eastern Seaboard : ESB) ได้ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ที่สามารถถอดเป็นบทเรียนได้ รวม 7 เรื่อง
คือ (1) ความเห็นภายหลังการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกของผู้มีส่วนได้เสียในปัจจุบัน (2) ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ (3) ผลกระทบด้านสังคม
(4) ผลกระทบด้านสุขภาพ (5) ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (6) การคัดค้านของประชาชน และ (7) การแก้ไขปัญหามลพิษในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด
บทที่ 9 สถานภาพและทัศนคติของเกษตรกรและผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มอื่นๆ ในภาคตะวันออกต่อแนวคิดการคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรม สาระส าคัญ : เป็นการ
ส ารวจสถานภาพและทัศนคติของเกษตรกรและผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มอื่นๆ เช่น นักธุรกิจด้านการท่องเที่ยว ธุรกิจซื้อขายที่ดิน ธุรกิจการเกษตร นักวิชาการ และเจ้าหน้าที่
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทที่ 10 ศักยภาพของพื้นที่การเกษตรในภาคตะวันออก สาระส าคัญ : เป็นการประเมินศักยภาพ ของพื้นที่การเกษตรในภาคตะวันออก โดยระบบ FAO
โดยจ าแนกเป็น (1) เขตเกษตรกรรมชั้นดี (2) เขตเกษตรกรรมที่มีศักยภาพการผลิตสูง และ (3) เขตเกษตรกรรมที่มีศักยภาพการผลิตตา
่
บทที่ 11 การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการเชื่อมโยงการคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรมกับอุตสาหกรรมอาหารในภาคตะวันออก สาระส าคัญ : เป็นการ
วิเคราะห์โดยระบบการบริหารจัดการโดยปัจจัย 5 ประการ คือ (1) การเมือง (2) เงื่อนไขทางสังคม (3) สถาบัน (4) เศรษฐศาสตร์ และ(5) วิชาการ และโดย
ระบบ DPSIR
บทที่ 12 แนวทางการคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรมที่เชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมอาหารในภาคตะวันออก สาระส าคัญ : แนวทางการคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรมที่
เชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมอาหารในภาคตะวันออก รวม 8 ประการ คือ (1) การก าหนดเป้าหมายพื้นที่ที่จะคุ้มครอง (2) การแก้ไขปัญหาความเป็นธรรมในการบังคับ
ใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยการตรากฎหมายขึ้นใหม่ คือ “การซื้อสิทธิในการพัฒนา” ในลักษณะ “ภาระจ ายอม” (3) การจัดตั้งกองทุนเพื่อซื้อสิทธิในการพัฒนา (4) การจัดตั้ง
Food Valley ในภาคตะวันออก (5) การใช้ Soft Power สนับสนุนพื้นที่ที่ขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์และการแปรรูปสินค้า OTOP ในปัจจุบัน (6) จัดท า
แผนปฏิบัติการที่เชื่อมโยงระหว่าง “การคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรมและการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร” (7) การศึกษาเพื่อหาสมดุลระหว่างพื้นที่การผลิตวัตถุดิบ
กับอุตสาหกรรมอาหาร และการศึกษาความเป็นไปได้ในการน ามาตรการ “การซื้อสิทธิในการพัฒนา” ในลักษณะ “ภาระจ ายอม” (8) การส่งเสริมให้เกษตรกรลงทุน
ร่วมกับส านักงานเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
บทที่ 13 สรุป
รูปที่ 1-3 สรุปสาระส าคัญในบทที่ 1-13