Page 76 -
P. 76

ิ
                                       ิ
                                     ้
                                                       ู
                                     ู
                           คลังความรดจทัลและฐานข้อมลจดหมายเหต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร           ์
                                                                     ุ
              แอปพลิเคชันนิล 4.0 เวอรชัน 2
              Application Nile 4.0 V.2






                       คาดวาในป 2014 ผลผลิตปลานิลรวมของโลกจะมีคาเพิ่มขึ้นเปน 3.9 ลานตัน  ในป 2011 จีนเปนประเทศ

         ที่ผลิตปลานิลไดมากที่สุดของโลก ประมาณ 1.3 ลานตัน รองลงไปไดแก อียิปต อินโดนีเซีย ผลิตมากกวา 5 แสนตัน
         ในสวนของประเทศไทยขอมูลจากกรมประมงรายงานวา ในประเทศไทยมีฟารมเพาะเลี้ยงปลานิล ประมาณ 235,000 ราย
         โดยมีพื้นที่การเลี้ยงกวา 300,000 ไร มีผลผลิตประมาณ 200,000 ตัน มีมูลคา 5,770 ลานบาท ปริมาณการสงออกปลานิล

         และผลิตภัณฑของไทย ในชวงไตรมาสแรก ป 2555 มีจำนวน 3,912 ตัน คิดเปนมูลคา 157.7 ลานบาท  ผลผลิตปลานิล
         สวนใหญกวารอยละ 90 จำหนายภายในประเทศ และสงออกอีกรอยละ 10 โดยตลาดสงออกหลักของไทย คือ

         กลุมประเทศตะวันออกกลาง รอยละ 68 กลุมประเทศยุโรป รอยละ 14 สหรัฐอเมริกา รอยละ 6 กลุมประเทศอาเซียน
         รอยละ 4 กลุมประเทศแอฟริกา รอยละ 3 และอื่น ๆ รอยละ 5
                       สำหรับการพัฒนาการเลี้ยงปลานิลในประเทศไทยในปจจุบัน วิธีการเลี้ยงสวนใหญจะเลี้ยงในบอดิน

         หรือในแหลงน้ำธรรมชาติ เชน แมน้ำ หรืออางเก็บน้ำ เปนตน อยางไรก็ตามพบวาการเลี้ยงในบริเวณดังกลาวเริ่มเกิดปญหา
         จากสภาวะโลกรอน  และการดําเนินกิจกรรมอื่นๆบริเวณใกลแหลงนํ้า  ทําใหมีการเปลี่ยนปริมาณและคุณภาพนํ้าอยาง

         กะทันหัน
                        ทำใหการเลี้ยงปลาประสบปญหา ซึ่งการแกปญหาทำไดยาก  ปจจัยสิ่งแวดลอมรวมถึงถึงปริมาณและ
         คุณภาพน้ำจึงมีผลโดยตรงตอการเลี้ยงสัตวน้ำ หากสามารถทำนายหรือคาดคะเนเหตุการณลวงหนาไดจะทำใหการเลี้ยง

         สัตวน้ำประสบผลสำเร็จ แตทั้งนี้ปริมาณน้ำจะตองถูกจัดสรรอยางเหมาะสมเนื่องจากมีความเกี่ยวของกับหลาย ๆ
         กิจกรรมทั้งการอุปโภค บริโภค เกษตรกรรมและปศุสัตวดวย

                        ดังนั้นการบูรณาการความรูจากการใชขอมูลดิจิตอล (Digital Data) จากขอมูลขางตนจึงเปนที่มาของ
         วัตถุประสงคของโครงการในปที่หนึ่งคือพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการเลี้ยงสัตวน้ำที่มีความแมนยำตอ
         สภาพภูมิอากาศ สภาพแวดลอมและสถานการณการตลาดสำหรับเกษตรกร เพื่อความยั่งยืนในการใชทรัพยากรและ

         ความอยูดีมีสุขของชุมชนซึ่งภายหลังจากสิ้นสุดโครงการปที่หนึ่งไดมีการนำขอมูลพื้นฐานที่จำเปนสำหรับการเลี้ยงสัตวน้ำ
         เชน สภาพพื้นที่และปริมาณน้ำในพื้นที่ศึกษา ขอมูลน้ำฝน สภาพอากาศ การจัดการและคุณภาพน้ำที่เปนปจจัยสำคัญ

         ตอสภาพการเลี้ยงสัตวน้ำ รวมถึงขอมูลดานเศรษฐศาสตรที่คลอบคลุมทั้งระบบมาพัฒนาเปนแอปพลิเคชั่นนิล 4.0 ซึ่ง
         ไดมีการนำไปทดลองใชจริงในพื้นที่และเผยแพรสูกลุมเกษตรกร นักวิชาการทั้งภาครัฐและเอกชน นิสิต นักศึกษา และ
         ผูมีสวนเกี่ยวของไดทดลองใช เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงแกไขตอไป ซึ่งพบวากลุมเกษตรกรผูเพาะเลี้ยง

         ปลานิล และนักวิชาการผูมีสวนเกี่ยวของไดใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับความตองการใชงานตัวชวยดานการจัดการโรคปลานิล
         การเพิ่มมูลคาผลิตภัณฑจากปลานิลเพื่อชวยใหเกษตรกรมีรายไดเพิ่มมากขึ้นจากผลผลิตปลานิลที่ผลิตได รวมทั้งพัฒนา

         ตนแบบการเลี้ยงปลานิลแบบแมนยำสูงโดยใชเทคโนโลยีเซ็นเซอร ซึ่งจากขอเสนอแนะทั้งหมดดังกลาวจึงเปนที่มาของ
         การศึกษาเพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจดานการจัดการโรคปลานิล การสรางตนแบบผลิตภัณฑมูลคาเพิ่มจาก
         ปลานิล และระบบการเลี้ยงปลานิลแบบแมนยำสูงในปที่สอง














                                                           76
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81