Page 72 -
P. 72

้
                                                                     ุ
                                     ู
                                       ิ
                           คลังความรดจทัลและฐานข้อมลจดหมายเหต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร           ์
                                                       ู
                                        ิ
          การพัฒนาระบบฐานขŒอมูลสารสนเทศในการยืมคืนระหว‹างหŒองสมุดดŒวย Google tools
           Development of Information database for interlibrary loan by Google tool





             สรุปผล


                        1. การพัฒนาระบบฐานขอมูลสารสนเทศในการยืมคืนระหวางหองสมุดดวย Google tools พบวา

         ขอมูลสารสนเทศในการยืมคืนระหวางหองสมุด ถูกจัดเก็บในฐานขอมูลอยางเปนระบบ สามารถแสดงผลการวิเคราะห
         ขอมูลดวย Google data studio โดยแสดงขอมูลจำนวนของประเภทหนังสือ ประเภทการขอยืม ประเภทภาษา
         ของสารสนเทศ ชื่อหนังสือที่มีการขอยืม จำนวนความถี่ในการขอยืมของหนังสือ ขอมูลประเภทผูใชบริการ โดยจาก
         การสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพของระบบของเจาหนาที่ผูใชงาน (admin) จำนวน 3 คน พบวา

         ดานประสิทธิภาพ (Performance) ในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ย 4.87) เมื่อจำแนกเปนรายขอ พบวา
         ความเร็วในการบันทึกปรับปรุงขอมูล ความเร็วในการนำเสนอขอมูล และความเร็วในการทำงานของระบบในภาพรวม
         อยูในระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ย 5.00) รองลงมาคือ ความเร็วในการแสดงผลจากการเชื่อมโยงเพจ และความเร็ว
         ในการติดตอกับฐานขอมูล อยูในระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ย 4.67), ดานสามารถทำงานไดตามหนาที่ (Function)

         ในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ย 4.80) เมื่อจำแนกเปนรายขอ พบวา ความถูกตองของการทำงานระบบ
         ในภาพรวม ความถูกตองของระบบในการปรับปรุงขอมูล และความถูกตองของระบบในการนำเสนอขอมูล อยูใน
         ระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ย 5.00) รองลงมาคือ ความถูกตองของระบบในการเพิ่มขอมูล อยูในระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ย 4.67)
         และความถูกตองของระบบในการจัดประเภทขอมูล อยูในระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ย 4.33), ดานความงายตอการใชงาน

         (Usability) ในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ย 4.80) เมื่อจำแนกเปนรายขอ พบวา ความงายในการเรียกใชระบบ
         ความชัดเจนของขอความที่แสดงบนจอภาพ และความนาใชของระบบในภาพรวม อยูในระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ย 5.00)
         รองลงมาคือ ความสะดวกในการเขาใชระบบ อยูในระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ย 4.67) และความเหมาะสมในการออกแบบ
         หนาจอโดยภาพรวม อยูในระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ย 4.33), ดานความปลอดภัยของขอมูล (Security) ในภาพรวม

         พบวาอยูในระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ย 4.67) เมื่อจำแนกเปนรายขอ พบวา การกำหนดสิทธิ์การเขาใชระบบเกิดความ
         ปลอดภัยในการใชงาน ความปลอดภัยของระบบเครือขาย ความปลอดภัยของการเขาถึงขอมูล การควบคุมใหใชงาน
         ตามสิทธิ์ผูใชไดอยางถูกตอง และการใหคำปรึกษาและแกปญหาสำหรับการใชงาน อยูในระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ย 4.67),
         และดานตรงตามความตองการ (Function Requirement) ในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ย 4.60)

         เมื่อจำแนกเปนรายขอ พบวา ความสามารถของระบบในการเพิ่มขอมูล และระบบฐานขอมูลมีความถูกตองครบถวน
         อยูในระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ย 5.00) รองลงมาคือ ความสามารถของระบบในการปรับปรุงขอมูล อยูในระดับมากที่สุด
         (คาเฉลี่ย 4.67) ความสามารถของระบบในการนำเสนอขอมูล อยูในระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ย 4.33) และความสามารถ
         ในการเรียกใชงานในระบบฐานขอมูล อยูในระดับมาก (คาเฉลี่ย 4.00)

                       2. การนำขอมูลสารสนเทศมาวิเคราะห เพื่อเปนขอมูลประกอบการบริหารจัดการทรัพยากรสารสนเทศ
         พบวา ระบบสามารถจัดเก็บรวบรวมขอมูลตาง ๆ โดยการนำขอมูลความถี่ทั้งหมดในการขอยืมคืนสารสนเทศระหวาง
         หองสมุด นำมาใชคำนวณเพื่อประมาณการคาใชจายในการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ โดยใชราคากลางของสารสนเทศ
         แตละประเภทในการคำนวณ ประมาณการเปนจำนวนเงินที่สำนักหอสมุดจะสามารถลดคาใชจายในการจัดซื้อทำ

         ทรัพยากรสารสนเทศได โดยการใชทรัพยากรสารสนเทศรวมกันระหวางเครือขายหองสมุด และเปนขอมูลประกอบ
         การบริหารจัดการทรัพยากรสารสนเทศในมิติอื่นของสำนักหอสมุด กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรอยาง
         เหมาะสมตอไป








                                                            72
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77