Page 41 -
P. 41

ุ
                                        ิ
                                       ิ
                                                       ู
                                     ้
                                     ู
                           คลังความรดจทัลและฐานข้อมลจดหมายเหต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร           ์
                            โครงการระบบบร�หารจัดการว�สาหกิจชุมชนอย‹างยั�งยืน
                                        (Community Agriculture Platform)














































                      ประกอบกับนโยบายภาครัฐ ที่ตองการปรับเปลี่ยนรูปแบบเปน การตลาดนำการผลิต เพื่อชวยในการวางแผนใน
            การบริหารจัดการการเกษตรไดอยางยั่งยืน ทำใหรูปแบบการดำเนินการ เพื่อสนับสนุนตั้งแตตนน้ำ ถึงปลายน้ำเพื่อพัฒนา
            ศักยภาพของการพัฒนาแพลตฟอรม CAP (ตนแบบผลิตภัณฑ) จะสามารถรองรับการใชงานบน SMART Device ไมวา
            จะเปน Android หรือ iOS ซึ่งถือเปนแพลตฟอรมดานการเกษตรที่สนับสนุนการเพาะปลูกตั้งแตตนน้ำ กลางน้ำ และ

            ปลายน้ำ โดยมีองคประกอบดังนี้
              วัตถุประสงค
                      ตนน้ำ (การผลิต) โดยพัฒนาสวนที่เรียกวา Farm Passbook เพื่อสนับสนุนการจดบันทึกขอมูลการบริหาร
            จัดการภายในแปลงของเกษตรกร ปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำงานของเกษตรกร ดวยการใช Digital Platform และสราง
            แนวทางในการลดการใชกระดาษในการจัดบันทึก และนำใชเทคโนโลยีดิจิทัลมาชวยสนับสนุนการจัดการแปลงเกษตร

            ไมวาจะเปนการวิเคราะหสภาพความแหงแลง คาดการณปริมาณน้ำฝน การแนะนำการใหน้ำ การใหปุย การเตือนภัยโรค
            หรือศัตรูพืช รวมถึงการประเมินผลผลิตทางการเกษตร (ฟงกชั่นนี้ใชไดเฉพาะขาวกับขาวโพดเลี้ยงสัตว)
                      กลางน้ำ (การสรางมาตรฐาน) พัฒนาใหเกษตรกรสามารถประเมินศักยภาพของตัวเองดวยเทคโนโลยีดิจิทัล
            รวมถึงเขาใจถึงมาตรฐานการเกษตรปลอดภัย (Good Agricultural Practice) ซึ่งถือเปนการสงเสริมองคความรูและ

            พัฒนาศักยภาพของเกษตรกรในการเพาะปลูกใหมีมาตรฐาน ในขณะที่กลุมวิสาหกิจก็สามารถควบคุมคุณภาพสินคา
            เกษตรภายในกลุม (Internal Control System) ซึ่งจะชวยใหกลุมวิสาหกิจเขาสูกระบวนการรับรองมาตรฐานสินคา
            เกษตรไดอยางมีประสิทธิผล โดยไดพัฒนาใหรองรับการตรวจรับรองแบบ GAP และ Organic ของพืชอาหาร รวมถึง
            การใช QR Code ในรอบเพาะปลูกของเกษตรกรในแตละแปลง เพื่อใหสามารถทวนสอบได








                                                           41
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46