Page 40 -
P. 40

้
                                     ู
                           คลังความรดจทัลและฐานข้อมลจดหมายเหต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร           ์
                                       ิ
                                                                     ุ
                                                       ู
                                        ิ
             โครงการระบบบร�หารจัดการว�สาหกิจชุมชนอย‹างยั�งยืน
                        (Community Agriculture Platform)









                     3) ผูบริโภคที่มาใชบริการซื้อสินคาผานระบบ Open CART สามารถตรวจสอบขอมูลยอนกลับผาน QR Code

           ในแตละผลิตภัณฑที่วางจำหนาย และมีความพึงพอใจในรอยละ 80 (เกณฑที่ชี้วัดอยูที่รอยละ 80)
                     4) มีการจัดทำหลักสูตรการอบรม ภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติ 2 วัน ในการใชงานแพลตฟอรม CAP โดยเปน
           ลักษณะ Hybrid Learning ซึ่งจัดอบรมแกเกษตรกรและวิสาหกิจที่เขารวมทั้ง Onsite และ Online ครอบคลุมการใช
           งานระบบ กระบวนการควบคุมคุณภาพ การตรวจประเมินแปลงภายในวิสาหกิจ และการตลาดออนไลน โดยมีระยะเวลา

           2 วัน และการพัฒนาศักยภาพของผูตรวจประเมินแปลงภายในวิสาหกิจ และการจัดทำเอกสารสำหรับควบคุมคุณภาพ
           สำหรับวิสาหกิจ ระยะเวลา 1 วัน และสงมอบเนื้อหาวิชารวมถึงสื่อการเรียนการสอนดังกลาวใหกับภาคีเครือขาย เพื่อการ
           ขยายผลไปสูกลุมวิสาหกิจชุมชนหรือภาคการศึกษาที่เกี่ยวของ
                     5) พัฒนาเนื้อหาการใชงาน CAP Platform ในรูปแบบ On-demand Learning ซึ่งจัดทำขึ้นผานชองทาง

           YouTube ในชอง CSRS Thailand (ของสถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ) รองรับการเรียนรูดวยตัวเอง



             บทนำ


                          ปจจุบันประเทศไทยมีแรงงานภาคการเกษตรมากถึง 13.5 ลานคน คิดเทียบเปนรอยละ 35 ของแรงงาน

           ทั้งหมด ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบสัดสวนของ GDP พบวามีการลดลงอยางตอเนื่องในชวง 10 ปที่ผานมา ประกอบการภาค
           การเกษตรของประเทศไทยตองอาศัยภูมิอากาศและน้ำ ซึ่งมักจะไดรับผลกระทบเมื่อสภาพอากาศแปรปรวน โดยการ
           เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศไดสรางความเสียหายตอภาคการเกษตรของไทยรายปละ 1.79-8.38 หมื่นลานบาท จากการ
           สำรวจพบวาสัดสวนแรงงานภาคการเกษตรมีแนวโนมเปนผูสูงวัยเพิ่มขึ้น และยังพบวากลุมเกษตรกรอายุนอยไดรับการ

           ศึกษาเฉลี่ยสูงขึ้น ทำใหชวยเพิ่มโอกาสในการนำเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาเพิ่มผลผลิต และปรับตัวใหมีศักยภาพในการ
           ผลิตไดอยางมีมาตรฐาน โดยกำแพงที่สำคัญไดแก ความสามารถในการปรับตัวกับเทคโนโลยีหรือความรูสมัยใหม เพื่อหลีก
           เลี่ยงความสูญเสียตอสภาวะการขาดทุน และจากการศึกษาอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร พบวากระแสการเกษตรที่
           คำนึงถึงผูบริโภค หรือลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมสรางตลาดสีเขียว เปนสิ่งที่ตลาดหรือผูบริโภคคนหา ซึ่งจะสงผลตอ

           คุณภาพชีวิตของผูบริโภค ทำใหเกิดการเปลี่ยนผานการเกษตรในอนาคต
                          ในขณะที่การหลุดพนจากแรงงานภาคการเกษตรไดนั้นจะตองปรับเปลี่ยนเปนผูประกอบการเกษตร โดยมี
           องคความรูที่สำคัญไดแก โดยมีความรูในเรื่องของตลาด รูจักการวางแผนการผลิต ตามความตองการของตลาด ทั้งคุณภาพ
           ปริมาณ และรูปแบบที่ตลาดตองการ รวมถึงความปลอดภัยของผูบริโภค ตองผลิตตามมาตรฐาน เชน GAP, Organic,

           HACCP หรือมาตรฐานอื่น ๆ ที่เปนที่ยอดรับ รูจักใชเทคโนโลยีการผลิต และการจัดการฟารมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
           บันทึกกิจกรรมและเหตุการณทั้งหมดใน การผลิตสินคาเกษตร เพือใหรูตนทุนการผลิต และสามารถทวนสอบยอนกลับ
           กระบวนการผลิตไดทุกขั้นตอน (Traceability) เปนองคความรูของตนเอง เพือพิสูจนยืนยันคุณภาพสินคา หรือเมื่อเกิด
           ปญหาในการผลิตจะรูสาเหตุและแนวทางแกไข












                                                           40
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45