Page 39 -
P. 39
้
ิ
ุ
ู
คลังความรดจทัลและฐานข้อมลจดหมายเหต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ์
ู
ิ
โครงการระบบบร�หารจัดการว�สาหกิจชุมชนอยางยั�งยืน
(Community Agriculture Platform)
บทคัดยอ
ปจจุบันประเทศไทยมีแรงงานภาคการเกษตรมากถึง 13.5 ลานคน คิดเทียบเปนรอยละ 35 ของแรงงานทั้งหมด
ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบสัดสวนของ GDP พบวามีการลดลงอยางตอเนื่องในชวง 10 ปที่ผานมา ประกอบการภาคการเกษตรของ
ประเทศไทยตองอาศัยภูมิอากาศและน้ำ ซึ่งมักจะไดรับผลกระทบเมื่อสภาพอากาศแปรปรวน โดยการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศไดสรางความเสียหายตอภาคการเกษตรของไทยรายปละ 1.79-8.38 หมื่นลานบาท จากการสำรวจพบวาสัดสวน
แรงงานภาคการเกษตรมีแนวโนมเปนผูสูงวัยเพิ่มขึ้น และยังพบวากลุมเกษตรกรอายุนอยไดรับการศึกษาเฉลี่ยสูงขึ้น ทำให
ชวยเพิ่มโอกาสในการนำเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาเพิ่มผลผลิต และปรับตัวใหมีศักยภาพในการผลิตไดอยางมีมาตรฐาน โดย
กำแพงที่สำคัญไดแก ความสามารถในการปรับตัวกับเทคโนโลยีหรือความรูสมัยใหม เพื่อหลีกเลี่ยงความสูญเสียตอสภาวะ
การขาดทุน และจากการศึกษาอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร พบวากระแสการเกษตรที่คำนึงถึงผูบริโภค หรือลดผลกระทบ
ตอสิ่งแวดลอม สรางตลาดสีเขียว เปนสิ่งที่ตลาดหรือผูบริโภคคนหา ซึ่งจะสงผลตอคุณภาพชีวิตของผูบริโภค ทำใหเกิดการ
เปลี่ยนผานการเกษตรในอนาคต
ดังนั้นรูปแบบการดำเนินการโดยอาศัยเทคโนโลยี เพื่อสนับสนุนตั้งแตตนน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำเพื่อพัฒนา
ศักยภาพของเกษตรกรของไทย ควรมีการนำเทคโนโลยีดิจิทัลบูรณาการรวมกับองคความรูการเกษตรปลอดภัย และเพิ่ม
โอกาสในแงของการตลาดโดยเนนไปที่ตลาดสินคาออนไลน โดยเรียกวา “Community Agriculture Platform (CAP)”
ซึ่งจะเปนการรวมกลุมของเกษตรกรเปนวิสาหกิจ เพื่อสรางความเขมแข็ง และ Economy of Scale ในการบริหารจัดการ
การผลิตดวยการประยุกตและนำใชเทคโนโลยีมาสนับสนุนในการตัดสินใจ และมีมาตรฐานสินคาเกษตรปลอดภัย สามารถ
ควบคุมและบริหารจัดการในลักษณะของกลุม โดยการบริหารจัดการและดำเนินการรวมกับ 4 วิสาหกิจใน 4 จังหวัด ไดแก
มหาสารคาม สกลนคร ตรัง และสุพรรณบุรีภายใตกระบวนการที่เกิดขึ้นนำไปสูการสรางองคความรูที่สำคัญผานแพลตฟอรม
บน SMART Device (ทั้ง iOS และ Andriod) ประกอบดวย
1) การจัดการแปลงเพาะปลูกใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดวยการนำขอมูลสารสนเทศที่เกิดจากขอมูลภาพถาย
ดาวเทียม และแบบจำลองการเจริญเติบโต มาประยุกตใช สนับสนุนใหเกษตรกรนำใชขอมูลมาชวยสนับสนุนการบริหาร
จัดการแปลง รวมกับการใชประโยชนจากอุปกรณ IOT ที่ติดตั้งภายในแปลง
วัตถุประสงค
2) การสงเสริมการจัดเก็บขอมูลในแปลงลดคาใชจาย ลดระยะเวลา และนำไปสูการเขาสูกระบวนการรับรอง
มาตรฐานสินคาเกษตรปลอดภัย เพิ่มมูลคาผลผลิต ในรูปแบบของ Self-Assessment และสรางกระบวนการ Internal
Audit ภายในกลุมเกษตรกรเปนการควบคุมคุณภาพของสินคาเกษตร
3) การเชื่อมโยงระบบตลาดออนไลนแบบ Multi-Chanel เพิ่มชองทางตลาดของเกษตรกร และการตรวจสอบ
ยอนกลับ
4) พัฒนาองคความรูแกเกษตรกรในวิสาหกิจ ใหเปน Internal Audit ภายในกลุม โดยการสรางองคความรู
ความเขาใจในมาตรฐานสินคาเกษตรปลอดภัย การตรวจประเมินแปลง
และไดผลลัพธที่สำคัญภายใตการดำเนินโครงการดังนี ้
1) เกษตรกรภายใตการอบรมโครงการทั้งสิ้น 97 ราย ใหการยอมรับในการใชเทคโนโลยีถึงรอยละ 83 (ใชทฤษฎี
TAM) และสามารถผานตามมาตรฐานเกษตรปลอดภัย ในระดับรอยละ 56.92 (เกณฑดัชนีชี้วัดอยูที่รอยละ 40)
2) เกษตรกรวางสินคาในระบบตลาด Open CART ทั้งสิ้น 21 ราย และทั้งหมดนำไปจำหนายในแพลตฟอรม
Shopee และ Facebook (เกณฑดัชนีชี้วัดอยูที่ 20 ราย และนำไปวางจำหนายในแพลตฟอรมตางๆ 5 ราย)
39