Page 105 -
P. 105

้
                                       ิ
                                        ิ
                                     ู
                                                       ู
                                                                     ุ
                           คลังความรดจทัลและฐานข้อมลจดหมายเหต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร           ์
                                         การพัฒนาการใชŒเทคโนโลยีเกษตรอัจฉร�ยะ
                                      เพ�่อการผลิตไมŒผลเศรษฐกิจ: ทุเร�ยน สŒมโอ ลำไย
                                Development of Smart Agricultural Technology for
                            Economic Fruit Production : Durian, Pummelo, Longan



            บทคัดยอ


                        ปจจุบันสภาพความอุดมสมบูรณของดินและน้ำที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก และความแปรปรวนของ
         สภาพภูมิอากาศที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกป สงผลกระทบมากตอระบบการผลิตภาคการเกษตรโดยเฉพาะอยางยิ่ง

         พืชไมผลที่มีความออนไหวตอการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมและสภาพอากาศ “เทคโนโลยี 52 สัปดาห” สำหรับไมผล
         ที่พัฒนาโดยนักวิจัยสาขาเกษตรศาสตร สำนักงานการวิจัยแหงชาติ จึงจำเปนตองมีการปรับปรุงองคความรูใหม ใหทันตอ
         การเปลี่ยนแปลงของของสภาพภูมิอากาศ สภาพแวดลอมและพฤติกรรมการใหผลผลิตของพืชที่เปลี่ยนไปจากเดิม กิจกรรม

         วิจัยนี้ จึงมีแนวคิดในการนำเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตของสรรพสิ่ง (IoT) และปญญาประดิษฐ (AI) มาผนวกรวมกับองคความรู
         “เทคโนโลยี 52 สัปดาห” เดิม เพื่อใหสามารถนำ “เทคโนโลยี 52 สัปดาห” มาใชงานจริงไดอยางแมนยำ สอดคลองกับ
         การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและเกิดขึ้นอยูตลอดเวลาและสามารถรับมือการระบาด
         ของโรคและแมลงศัตรูพืชไดอยางทันทวงที โดยจะประมวลผลขอมูล IoT ประสบการณและองคความรูตาง ๆ ที่รวบรวม
         จากผูทรงคุณวุฒิ ผูเชี่ยวชาญและผลงานวิจัย ไวใน “ระบบผูเชี่ยวชาญ 52 สัปดาห” และถายทอดองคความรูจากระบบ

         ดังกลาว ผานแอปพลิเคชันบนสมารทโฟน “Hero AGRI” ซึ่งจะชวยสนับสนุนเกษตรกรในการผลิตไมผลเศรษฐกิจ ทุเรียน
         สมโอ และลำไย เพื่อใหเกษตรกรสามารถนำไปปรับใชใหเกิดประโยชนและพัฒนากระบวนการผลิตไมผลไดอยางมี
         ประสิทธิภาพ ลดความสูญเสียที่เกิดจากการระบาดของโรคและศัตรูพืช ไดผลผลิตที่มีคุณภาพสูงตามมาตรฐานที่ผูบริโภค

         และตลาดตองการได

           บทนำ


                       ประเทศไทยมีภูมิอากาศที่เหมาะสมสำหรับการทำการเกษตรเปนอยางยิ่ง และเปนแหลงผลิตและสงออกผลไมสด

         และผลไมแปรรูปสูตลาดโลกไดอยางมีนัยสำคัญ หากในปจจุบัน ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศที่ทวีความรุนแรง
         มากขึ้นทุกป สภาพความอุดมสมบูรณของดินและน้ำที่มีการเปลี่ยนแปลงมาก สงผลกระทบอยางยิ่งตอระบบการผลิตพืชไม
         ผลที่มีความออนไหวตอการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ “เทคโนโลยี 52 สัปดาห” สำหรับไมผล ที่พัฒนาโดยนักวิจัย
         สาขาเกษตรศาสตร สำนักงานการวิจัยแหงชาติ จึงจำเปนตองมีการปรับปรุงองคความรูใหม ใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของ
              วัตถุประสงค
         สภาพภูมิอากาศ สภาพแวดลอมและพฤติกรรมการใหผลผลิตของพืชที่เปลี่ยนไปจากเดิม กิจกรรมวิจัยนี้ จึงมีแนวคิดใน

         การนำเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตของสรรพสิ่ง (IoT) และปญญาประดิษฐ (AI) มาผนวกรวมกับองคความรู “เทคโนโลยี 52
         สัปดาห” เดิม เพื่อใหสามารถนำ “เทคโนโลยี 52 สัปดาห” มาใชงานจริงไดอยางแมนยำ สอดคลองกับการเปลี่ยนแปลง
         ของสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและเกิดขึ้นอยู

           วัตถุประสงค


                       เพื่อพัฒนาแพลตฟอรมอินเทอรเน็ตของสรรพสิ่ง (IoT) และฐานขอมูลขนาดใหญผานเครือขายคอมพิวเตอร

         และแอปพลิเคชันบนโทรศัพทมือถือ Hero AGRI เพื่อการประยุกตใชนวัตกรรมเทคโนโลยีเกษตร 52 สัปดาห สำหรับพืช
         เศรษฐกิจ 3 ชนิด ไดแก ทุเรียน ลำไย สมโอ ในพื้นที่ 4 ภูมิภาคของประเทศไทย











                                                          105
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110