Page 106 -
P. 106

ิ
                                                       ู
                                                                     ุ
                                       ิ
                           คลังความรดจทัลและฐานข้อมลจดหมายเหต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร           ์
                                     ู
                                     ้
                             การพัฒนาการใชŒเทคโนโลยีเกษตรอัจฉร�ยะ
                         เพ�่อการผลิตไมŒผลเศรษฐกิจ: ทุเร�ยน สŒมโอ ลำไย
                   Development of Smart Agricultural Technology for
               Economic Fruit Production : Durian, Pummelo, Longan



            ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน


                         วิธีการดำเนินงาน แบงออกเปนกิจกรรมยอย 6 กิจกรรม ดังนี้

                         1. การลงพื้นที่สำรวจแปลงปลูก เพื่อกำหนดพื้นที่ศึกษาและหาเกษตรกรตนแบบ
                         2. การประชุมระดมความคิดเห็นจากเฉพาะกลุม (Focus group)
                         3. การแปลผลขอมูลเซนเซอรแลภาพถายเพื่อปรับปรุงองคความรูเทคโนโลยี 52 สัปดาห
                         4. การแปลงองคความรู “เทคโนโลยี 52 สัปดาห” สูระบบผูเชี่ยวชาญเทคโนโลยี 52 สัปดาห

                             แบบฐานกฎ (Rule – based expert system)
                         5. การพัฒนาแพลตฟอรมเกษตรอัจฉริยะ (Hero AGRI Platform)
                         6. การผลิตรายการโทรทัศนและสื่อถายทอดองคความรู 


             การนำไปใชประโยชน


                     1. ชวยสนับสนุนเกษตรกรในการปฏิบัติงานภาคการเกษตรไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถเตรียมรับมือและ
           ปรับการปฏิบัติกิจกรรมการปลูกใหสอดคลองกับสภาพภูมิอากาศที่แปรปรวนและเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วได รวมถึง
           สามารถปองกันความเสียหายของผลผลิตที่จะเกิดจากการระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืชที่มีพฤติกรรมการระบาดที่
           เปลี่ยนไปและรุนแรงขึ้น

                     2. ฐานขอมูลอินเทอรเน็ตของสรรพสิ่ง สามารถนำไปใชตอยอดในกระบวนการเรียนรูเพื่อพัฒนาปญญา
           ประดิษฐดานการปลูกและผลิตไมผลเศรษฐกิจในอนาคต

             รายการอางอิง



                         อำไพวรรณ ภราดรนุวัฒน, รายงานฉบับสมบูรณ การวิเคราะหสังเคราะหความรูจากงานวิจัยพัฒนาสู
          องคความรู “เทคโนโลยี 52 สัปดาห” เพื่อเสริมสรางประสิทธิภาพการผลิตพืชเศรษฐกิจและเพิ่มรายไดเกษตรกรดวยการ
          สงผานระบบการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ (“เทคโนโลยี 52 สัปดาห สมโอ”), สำนักงานการวิจัยแหงชาติ

                         ธีรนุช เจริญกิจ และพาวิน มะโนชัย,  คูมือการปฏิบัติดูแลแปลงลำไยในรอบป ศูนยวิจัยและพัฒนา
          ลำไยแมโจ, 2563
                         พาวิน มะโนชัยและคณะ, รายงานการวิจัย การบริหารจัดการเทคโนโลยีเพื่อผลิตลำไยนอกฤดูในพื้นที่
          ภาคเหนือของประเทศไทย ระยะที่ 1, สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)  มหาวิทยาลัยแมโจ
                         พาวิน มะโนชัย และคณะ, แผนการทำงานในสวนลำไย ในรอบ 12 เดือน โดย เทคโนโลยีการผลิตลำไย

          และการจัดการ ศูนยเครือขายวิจัยและพัฒนาลำไยแมโจ-สกว มหาวิทยาลัยแมโจ
                         พาวิน มะโนชัย และคณะ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ การผลิตลำไยคุณภาพดีตนทุนต่ำ, สำนักงานกองทุน
          สนับสนุนการวิจัย ประจำปงบประมาณ 2550

                         บุญชาติ คติวัฒน, แผนการทำงานการปลูกลำไยนอกฤดู, 2564










                                                          106
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111