Page 10 -
P. 10
ิ
ิ
ิ
ิ
์
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2. การประเมินสถานการณ์ทางการตลาด
ิ
กุหลาบพันปี เป็นพืชอีกชนดหนงทเริ่มได้รับความสนใจจากอุตสาหกรรม
ี่
ึ่
ึ
เครื่องสำอาง เนองจากมีรายงานผลการศกษาหลายฉบับได้มีการกล่าวถึงฤทธิ์ทาง
ื่
ี่
ึ
ั
ชีวภาพของสารสกัดทได้จากกุหลาบพันปี และจากการศกษาวิจัยพบว่า สารสำคญท ี่
พบในใบและดอกของกุหลาบพันปี เป็นสารในกลุ่มกรดฟีนอลิกและอนพันธ์ของฟลา
ุ
ิ
โวนอยด์ 3 ชนด ได้แก่ กรดคลอโรจินก (chlorogenic acid) รูติน (rutin หรือ
ิ
ิ
quercetin-3-O-rutinoside) และเคอซตริน (quercitrin หรือ quercetin-3-
ี้
ื
ึ่
rhamnoside) ซงสารในกลุ่มนมีสมบัติสำคญ คอ มีฤทธิ์เป็นสารต้านออกซเดชัน
ั
ิ
ิ
ี่
(antioxidant) ยับยั้งปฏิกิริยาออกซเดชันซงเป็นสาเหตุสำคญททำให้เซลล์ต่างๆ
ึ่
ั
เสื่อมสภาพอันเป็นสาเหตุของการเกิดริ้วรอยได้ ทงยังช่วยยับยั้งการสร้างเม็ดสี
ั้
กระตุ้นการผลัดเซลล์ผิวที่เสื่อมสภาพให้หลุดออกไปทำให้ผิวดกระจ่างใส ช่วยปกป้อง
ู
เซลล์จากการถูกทำลายโดยรังสียูวี และเป็นสารต้านการกลายพันธุ์ (antimutagrns)
ื
ั
และป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง โดยกระบวนการออกฤทธิ์สำคญ 2 กระบวนการคอ
ออกฤทธิ์โดยเข้าไปกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์ cytochrome P-450 ซงเป็น
ึ่
ี่
เอนไซม์สำคัญในการเปลี่ยนแปลงสารแปลกปลอมทเข้าไปในร่างกายให้กลายเป็นสาร
เมตาบอไลท์ที่มีขั้ว ทำให้ถูกกำจัดออกจากร่างกายได้ง่ายขึ้น จึงช่วยลดปริมาณสารก่อ
ั้
ี่
มะเร็งและสารก่อการกลายพันธุ์ทอาจแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกาย พร้อมทงเร่งการ
กำจัดเมตาบอไลทซงอาจเป็นสารก่อมะเร็งและสารก่อกลายพันธุ์ไปด้วย ไม่ให้สาร
ึ่
์
เหล่านไปก่อความเสียหายต่อเซลล์ทอวัยวะต่างๆ ได้ จากคณสมบัติดังกล่าวจึงได้มี
ุ
ี่
ี้
การนำเอาสารสกัดจากกุหลาบพันปีมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ในกลุ่มผลิตภัณฑ์เพื่อ
ึ่
สุขภาพและเครื่องสำอาง ซงในอุตสาหกรรมเครื่องสำอางนั้น จัดเป็นอุตสาหกรรมทมี
ี่
อัตราการเติบโตของตลาดสูงมากในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา และเพื่อเป็นการประเมินสภาพ
ึ
ตลาดจึงได้ทำการศกษาและวิเคราะห์สถานการณ์อุตสาหกรรมเครื่องสำอางตาม
ปัจจัยสำคัญต่างๆ ดังน ี้
6