Page 16 -
P. 16
1 6 : F a c u l t y o f M a n a g e m e n t S c i e n c e s
คลังความรดจทัลและจดหมยเหต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
์
ุ
้
ิ
ิ
ู
การตีความตามตัวอักษร: ทางออกของ Civil Law
ุ
ุ
ผศ.พชร สขสเมฆ
(Civil
กฎหมายของไทยเป นระบบกฎหมายที เรียกว่า
“ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร”
Law) กล่าวคือ บรรดาบทบัญญัติที มีสถานะเป นกฎหมายและมีอํานาจในทางนิติบัญญัติต่อ
ทั งการบังคับใช้ และลงโทษล้วนอยู่บนพ นฐานสาคัญ คือ การกระทําที เป นความผิด และ
ํ
ื
ลงโทษได้นั น ต้องเป นกรณีที กฎหมายได้มีการ “บัญญัติไว้ว่าการกระทํานั น ๆ เป นความผิด
โดยโทษที จะลงแก่ผู้กระทําการอันเป นความผิดก็ต้องเป นโทษตามที กฎหมายได้บัญญัติไว้
อย่างชัดแจ้ง”
กฎหมายไทยได้ให้ความชัดเจนว่าจะวินิจฉัยว่าบุคคลใดกระทําการอันเข้าข่ายต่อ
เห็นได้ว่า
ความผิดที สามารถลงโทษได้นั น ต้องเป นการกระทําที กฎหมายบัญญัติไว้ให้เห็นเป นประจักษ
ไม่ว่าจะเป นความผิดตามที บัญญัติในกฎหมายที เกี ยวกับการค้าพาณิชย์ (กฎหมายแพงและ
่
พาณิชย์) หรือกฎหมายที ลงโทษต่อเนื อตัวร่างกายของผู้กระทําความผิด (กฎหมายอาญา)
เพราะทุกคน
แม้ความชัดเจนในระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษรจะมีประโยชน์ในทางปฏิบัติ
ย่อมสามารถทําความเข้าใจในลายลักษณ์อักษรที ปรากฏในกฎหมายประเภทต่าง ๆ ได้ แต่ ์
เป นไปได้ที ในบางครั ง (และหลายครั ง) ที ถ้อยคําที เป นลายลักษณ์อักษรที ปรากฏในกฎหมาย
นั นอาจมีความไม่ชัดเจนและนํามาซึ ง “ป ญหาการตีความและการบังคับใช้กฎหมาย”
่
ตัวอย่างเช่น กรณีมาตรา ๑๕๐ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์ที บัญญัติในประเด็นเกี ยว
กับการทํานิติกรรมไว้ว่า
้
ั
“การใดมีวัตถุประสงค์เป นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย เป นการพนวิสยหรือ
ี
เป นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศลธรรมอันดีของประชาชน การนั นเป นโมฆะ”
บทบัญญัตินี มีถ้อยคําที อาจเกิดป ญหาต่อการใช้บังคับ เนื องด้วยคําว่า “ศลธรรมอันดีของ
ี
ประชาชน” นั น หมายความถึง ศลธรรมในอิทธิพลของศาสนาและ/หรือศลธรรมที เกิดขึ นมา
ี
ี
ิ
จากบริบทของสงคมของประชาชน ซึ งกรณีนี หากเกิดข้อพพาทขึ นมา จะทําให้เกิดข้อโต้
ั
เถียง หรือข้อโต้แย้งในการวินิจฉัยการบังคับใช้มาตรานี ได้
ป ญหาที เกิดขึ นนี Civil Law ได้มีทางออกไว้แล้ว ในมาตรา ๔ ประมวลกฎหมายแพงและ
่
พาณิชย์ บัญญัติว่า “กฎหมายนั น ต้องใช้ในบรรดากรณีซึ งต้องด้วยบทบัญญัติใด ๆ แห่ง
กฎหมายตามตัวอักษร หรือตามความมุ่งหมายของบทบัญญัตินั น ๆ เมื อไม่มีบทกฎหมายที
จะยกมาปรับคดีได้ ให้วินิจฉัยคดีนั นตามจารีตประเพณีแห่งท้องถิ น ถ้าไม่มีจารีตประเพณี
ั
เช่นว่านั น ให้วินิจฉัยคดีอาศยเทียบบทกฎหมายที ใกล้เคียงอย่างยิ ง และ ถ้าบทกฎหมายเช่น
นั นก็ไม่มีด้วย ให้วินิจฉัยตามหลักกฎหมายทั วไป”
โดยความเห็นของผู้เขียน เห็นว่า ทางออกในการตีความตัวบทกฎหมายใน Civil Law นี ยัง
่
เป นทางออกที นําไปสประเด็นที น่าสนใจ คือ เมื อทางออกมีหลายทาง แล้วจะใช้ทางออกทาง
ู
ไหน และจะใช้อย่างไรให้เป นไปด้วยความเป นธรรมและเป นคุณแก่ป ญหาที เกิดขึ น