Page 111 -
P. 111

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                  การศึกษาพฤติกรรมการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวและการประมาณการความต้องการเมล็ดพันธุ์ข้าวสําหรับศูนย์ข้าวชุมชน

                             5) ศูนยขาวชุมชนบานเกาะตาล ตําบลเกาะตาล อําเภอขาณุวรลักษณ จังหวัดกําแพงเพชร
                           จากขอมูลการลงทะเบียนของเกษตรกรในการเพาะปลูกขาวใน 2 ปที่ผานมา พบวา พันธุขาวสําคัญ

                  ที่เกษตรกรที่ทํานารอบศูนยขาวชุมชนบานทาไม จังหวัดนครสวรรค ในการเพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2560/61
                  (ฤดูแลง)  ขาวนาป ป 2561 (ฤดูฝน) ขาวนาปรัง ป 2561/62 (ฤดูแลง) และนาป ป 2562 (ฤดูฝน)   คือ  ขาว

                  พันธุ กข49 และ กข29 ซึ่งกลุมเกษตรกรจะใชสลับกันไปมาระหวางการใชในเพาะปลูกนาปรังและนาป คิดรวม

                  เปนรอยละ 70.4 – 83.65 ของพื้นที่เพาะปลูกขาวทั้งหมด และยังมีพันธุขาวอีก 1 พันธุ คือ กข47 ที่เกษตรกร
                  ใชใน 4 ฤดูเพาะปลูกที่ผานมา อยูในชวงรอยละ 10.99-13.87 ของพื้นที่เพาะปลูกขาวทั้งหมด (ตารางที่ 4.22)

                            6) ศูนยขาวชุมชนบานนิคมทุงโพธิ์ทะเล  ตําบลนิคมทุงโพธิ์ทะเล อําเภอเมือง จังหวัด
                  กําแพงเพชร

                           จากขอมูลการลงทะเบียนของเกษตรกรในการเพาะปลูกขาวใน 2 ปที่ผานมา พบวา พันธุขาวสําคัญ
                  ที่เกษตรกรที่ทํานารอบศูนยขาวชุมชนบานทาไม จังหวัดนครสวรรค ในการเพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2560/61

                  (ฤดูแลง)  ขาวนาป ป 2561 (ฤดูฝน) ขาวนาปรัง ป 2561/62 (ฤดูแลง) และนาป ป 2562 (ฤดูฝน)   คือ  ขาว
                  พันธุ กข49 และ กข29 ซึ่งคิดเปนรอยละที่ใกลเคียงกันในแตละฤดูการผลิต คือประมาณรอยละที่ไมต่ํากวา

                  90.0 ของพื้นที่เพาะปลูกทั้งหมดของแตฤดูการผลิต โดยมีพันธุขาวอีก 1 พันธุ คือ ปทุมธานี1 ที่เกษตรกรเริ่มใช
                  ปลูกในฤดูนาป 2562 คือ ปทุมธานี1 (ตารางที่ 4.23)

                             7) ศูนยขาวชุมชนบานใหมโพธิ์ทะเล  ตําบลวัดปากุมเกาะ อําเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย

                           จากขอมูลการลงทะเบียนของเกษตรกรในการเพาะปลูกขาวใน 2 ปที่ผานมา พบวา พันธุขาวสําคัญ
                  ที่เกษตรกรที่ทํานารอบศูนยขาวชุมชนบานทาไม จังหวัดนครสวรรค ในการเพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2560/61

                  (ฤดูแลง)  ขาวนาป ป 2561 (ฤดูฝน) ขาวนาปรัง ป 2561/62 (ฤดูแลง) และนาป ป 2562 (ฤดูฝน)   คือ  ขาว
                  พันธุ กข41 กข61 และพิษณุโลก2 ซึ่งคิดเปนรอยละ 61.48 – 76.05 ของพื้นที่เพาะปลูกทั้งหมดในแตละฤดู

                  การผลิต นอกจากนี้ ยังมีเกษตรกรอีกจํานวนหนึ่งที่ใชพันธุขาวปทุมธานี1 โดยเริ่มปลูกในฤดูนาป ป 2561 โดยมี
                  แนวโนมเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ (ตารางที่ 4.24)

                             8) ศูนยขาวชุมชนบานทาชาง  ตําบลทาชาง อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก
                           จากขอมูลการลงทะเบียนของเกษตรกรในการเพาะปลูกขาวใน 2 ปที่ผานมา พบวา พันธุขาวสําคัญ

                  ที่เกษตรกรที่ทํานารอบศูนยขาวชุมชนบานทาไม จังหวัดนครสวรรค ในการเพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2560/61
                  (ฤดูแลง)  ขาวนาป ป 2561 (ฤดูฝน) ขาวนาปรัง ป 2561/62 (ฤดูแลง) และนาป ป 2562 (ฤดูฝน)   คือ  ขาว

                  พันธุ พิษณุโลก2 และ กข49 โดยพื้นที่ทํานาที่ใชพันธุขาว 2 พันธุนี้ คิดเปนประมาณรอยละ 74.66 – 96.93

                  ของพื้นที่ปลูกขาวทั้งหมดในแตละฤดูการผลิต อยางไรก็ตาม การใชพันธุขาวพิษณุโลก2 มีแนวโนมลดลง แตการ
                  ใชพันธุขาว กข 49 มีแนวโนมเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ยังมีเกษตรกรอีกจํานวนหนึ่งที่ใชพันธุขาวกข43 โดยเริ่มปลูก

                  ในฤดูนาป ป 2561 โดยมีแนวโนมเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ (ตารางที่ 4.25)




                                                            - 91 -
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116