Page 114 -
P. 114

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                  การศึกษาพฤติกรรมการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวและการประมาณการความต้องการเมล็ดพันธุ์ข้าวสําหรับศูนย์ข้าวชุมชน

                             9) ศูนยขาวชุมชนบานหนองไผ ตําบลตลุกเทียม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก
                             จากขอมูลการลงทะเบียนของเกษตรกรในการเพาะปลูกขาวใน 2 ปที่ผานมา พบวา พันธุขาวสําคัญ

                  ที่เกษตรกรที่ทํานารอบศูนยขาวชุมชนบานทาไม จังหวัดนครสวรรค ในการเพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2560/61
                  (ฤดูแลง)  ขาวนาป ป 2561 (ฤดูฝน) ขาวนาปรัง ป 2561/62 (ฤดูแลง) และนาป ป 2562 (ฤดูฝน)   คือ  ขาว

                  พันธุ พิษณุโลก2 และ กข49 โดยพื้นที่ทํานาที่ใชพันธุขาว 2 พันธุนี้ คิดเปนประมาณรอยละ 70.42 – 81.31

                  ของพื้นที่ปลูกขาวทั้งหมดในแตละฤดูการผลิต นอกจากนี้ ยังมีเกษตรกรอีกจํานวนหนึ่งที่กระจายใชพันธุขาวกข
                  29 กข57 และ กข41 โดยเริ่มปลูกในฤดูนาป ป 2561 แตความตองการใชไมมีแนวโนมที่แนนอน (ตารางที่

                  4.26)
                             10) ศูนยขาวชุมชนบานทุงน้ําใส ตําบลดงประคํา อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก

                              จากขอมูลการลงทะเบียนของเกษตรกรในการเพาะปลูกขาวใน 2 ปที่ผานมา พบวา พันธุขาว
                  สําคัญที่เกษตรกรที่ทํานารอบศูนยขาวชุมชนบานทาไม จังหวัดนครสวรรค ในการเพาะปลูกขาวนาปรัง ป

                  2560/61 (ฤดูแลง)  ขาวนาป ป 2561 (ฤดูฝน) ขาวนาปรัง ป 2561/62 (ฤดูแลง) และนาป ป 2562 (ฤดูฝน)
                  คือ  ขาวพันธุ กข41 กข49 และหอมมะลิ โดยพื้นที่ทํานาที่ใชพันธุขาว 2 พันธุนี้ คิดเปนประมาณรอยละ 75.95

                  – 96.47 ของพื้นที่ปลูกขาวทั้งหมดในแตละฤดูการผลิต อยางไรก็ตาม พันธุขาว กข41 จะใชในการปลูกขาวนา
                  ปรัง สวนพันธุขาว กข49 จะใชมากในการปลูกทั้งขาวนาปรังและขาวนาป แตการปลูกขาวนาปจะใช กข49

                  และพันธุขาวหอมมะลิ เปนหลัก นอกจากนี้ ยังมีเกษตรกรอีกจํานวนหนึ่งที่ใชพันธุขาวพิษณุโลก2 และกข29 ใน

                  แตละฤดูการผลิต และเริ่มมีการใชเมล็ดพันธุขาวพันธุปทุมธานี1 เพิ่มขึ้นชา ๆ(ตารางที่ 4.27)


                         4.4.4   พฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุขาวของตนเองและอัตราการใชเมล็ดพันธุขาวของเกษตรกรทํา
                  นารอบศูนยขาวชุมชนแตละแหง

                                ขอมูลการใชเมล็ดพันธุขาวของตนเองและอัตราการใชเมล็ดพันธุขาวของเกษตรกรทํานารอบ
                  ศูนยขาวชุมชนแตละแหงและมาจากตารางที่ 3.10 และ 3.11 ในบทที่ 3  และเพื่อความสะดวกในการนํามาใช

                  ประมาณการความตองการเมล็ดพันธุขาวสําหรับศูนยขาวชุมชนแตละแหง จะขอสรุปขอมูลทั้ง 2 อีกครั้งดัง
                  ตารางที่ 4.28

                                พบวา ในการเพาะปลูกทั้งขาวนาปรัง ปเพาะปลูก 2561/62 และขาวนาป ปเพาะปลูก 2562
                  เมล็ดพันธุขาวบางสวนที่เกษตรกรที่ทํานารอบศูนยขาวชุมชนแตละแหงใชคือเมล็ดพันธุของตนเองที่เก็บไวจาก

                  ผลผลิตขาวที่เก็บเกี่ยวไดในฤดูกอนหนานี้ และเมล็ดพันธุขาวที่เกษตรกรซื้อมาจากแหลงอื่น ๆ โดยเมล็ดพันธุ

                  ขาวที่เปนของตนเองคิดเปนรอยละเฉลี่ยที่ใกลเคียงกันระหวางฤดูแลงและฤดูฝน นั่นคือ รอยละ 28.4 และ 29.7
                  ของปริมาณเมล็ดพันธุขาวรวมที่ใชในแตละฤดูผลิต ตามลําดับ  แตสัดสวนของเมล็ดพันธุของตนเองที่เกษตรกร

                  ทํานารอบศูนยขาวชุมชนแตละแหงใชในแตละฤดูผลิตนั้นคอนขางที่จะแตกตางกัน  คืออยูในชวงรอยละ 11.5 –
                  60.2 ของเมล็ดพันธุขาวที่ใชทั้งหมดในฤดูแลง สําหรับเกษตรกรทํานารอบศูนยขาวชุมชนบานหนองไผ และศูนย


                                                            - 94 -
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119