Page 108 -
P. 108

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                  การศึกษาพฤติกรรมการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวและการประมาณการความต้องการเมล็ดพันธุ์ข้าวสําหรับศูนย์ข้าวชุมชน

                             2) ศูนยขาวชุมชนบานหวยโรง  ตําบลบึงปลาทู อําเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค
                           จากขอมูลการลงทะเบียนของเกษตรกรในการเพาะปลูกขาวใน 2 ปที่ผานมา พบวา พันธุขาวสําคัญ

                  ที่เกษตรกรที่ทํานารอบศูนยขาวชุมชนบานทาไม จังหวัดนครสวรรค ในการเพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2560/61
                  (ฤดูแลง)  ขาวนาป ป 2561 (ฤดูฝน) ขาวนาปรัง ป 2561/62 (ฤดูแลง) และนาป ป 2562 (ฤดูฝน)   คือ  ขาว

                  พันธุ กข49 ซึ่งคิดเปนรอยละ 48.19 – 76.06 ของพื้นที่เพาะปลูกทั้งหมด และ กข57 ซึ่งคิดเปนรอยละ 9.67 –

                  21.71 ของพื้นที่เพาะปลูกทั้งหมด ยังมีพันธุขาวอีก 2 พันธุ คือ กข29 และ กข41 ที่เกษตรกรใชใน 4 ฤดู
                  เพาะปลูกที่ผานมา แตก็ไมเกินรอยละ 9.51 และรอยละ 15.97 ของพื้นที่เพาะปลูกทั้งหมด ตามลําดับ (ตารางที่

                  4.19)
                             3) ศูนยขาวชุมชนบานบึงประดู  ตําบลทับหมัน อําเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร

                           จากขอมูลการลงทะเบียนของเกษตรกรในการเพาะปลูกขาวใน 2 ปที่ผานมา พบวา พันธุขาวสําคัญ
                  ที่เกษตรกรที่ทํานารอบศูนยขาวชุมชนบานทาไม จังหวัดนครสวรรค ในการเพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2560/61

                  (ฤดูแลง)  ขาวนาป ป 2561 (ฤดูฝน) ขาวนาปรัง ป 2561/62 (ฤดูแลง) และนาป ป 2562 (ฤดูฝน)   คือ  ขาว
                  พันธุ กข41 ซึ่งคิดเปนรอยละ 58.45 – 75.26 ของพื้นที่เพาะปลูกทั้งหมด โดยมีแนวโนมลดลง โดยพันธุที่มา

                  ทดแทนก็มี กข49 ซึ่งคิดเปนรอยละ 5.27 – 18.78 ของพื้นที่เพาะปลูกทั้งหมด ยังมีพันธุขาวอีก 1 พันธุ คือ กข
                  61 ที่เกษตรกรใชใน 4 ฤดูเพาะปลูกที่ผานมา แตก็ไมเกินรอยละ 7.25 ของพื้นที่เพาะปลูกทั้งหมด นอกจากนั้น

                  ยังพบวามีเกษตรกรจํานวนหนึ่งที่ปลูกขาวหอมมะลิและพิษณุโลก 2 ในการเพาะปลูกขาวนาป (ตารางที่ 4.20)

                             4) ศูนยขาวชุมชนบานทาตาเสือ  ตําบลวัดขวาง อําเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
                           จากขอมูลการลงทะเบียนของเกษตรกรในการเพาะปลูกขาวใน 2 ปที่ผานมา พบวา พันธุขาวสําคัญ

                  ที่เกษตรกรที่ทํานารอบศูนยขาวชุมชนบานทาไม จังหวัดนครสวรรค ในการเพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2560/61
                  (ฤดูแลง)  ขาวนาป ป 2561 (ฤดูฝน) ขาวนาปรัง ป 2561/62 (ฤดูแลง) และนาป ป 2562 (ฤดูฝน)   คือ  ขาว

                  พันธุ กข41 ซึ่งคิดเปนรอยละ 55.90 – 74.98 ของพื้นที่เพาะปลูกทั้งหมด โดยในการเพาะปลูกขาวนาปจะลด
                  การใชพันธุ กข 41 ลง แลวหันไปใชพันธุ กข29 หรือ กข49 และจะกลับมาใชพันธุ กข41 ในการเพาะปลูกขาว

                  นาปรัง  นอกจากนี้ ยังมีเกษตรกรอีกจํานวนหนึ่งที่ใชพันธุขาว กข57 กข71 และเริ่มปลูกขาวหอมมะลิในฤดูฝน
                  ป 2562 (ตารางที่ 4.21)




















                                                            - 88 -
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113