Page 10 -
P. 10

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว



             8                                  ว า ร ส า ร โ ค ร ง ก า ร ห ล ว ง




                  ในการทํางานวิจัยครั้งนี้ ผูเขียนและผูรวมงานวิจัยไดทําการสํารวจและรวบรวมผลเสาวรสที่พบอาการ

            ผลเนาจากพื้นที่ปลูกของเกษตรกร ในหลายพื้นที่ของโครงการหลวง นํามาแยกเชื้อสาเหตุ และทําการคัดเลือก
            ใหไดเชื้อที่มีความสามารถในการทําใหเกิดโรคสูง (pathogenicity test) ไดเชื้อสาเหตุทั้งหมดเปนรา 4 สกุล
            (genera) คือ Alternaria sp., Fusarium sp., Colletotrichum sp. และ Phytophthora sp. จึงนําเอา
            ชีวภัณฑจากโรงชีวภัณฑ มูลนิธิโครงการหลวง ภายใตการดูแลของแผนกงานอารักขาพืช มาใชทดสอบเบื้องตน

            ในหองปฏิบัติการ โดยวิธีเลี้ยงเชื้อโรคคูกับจุลินทรียปฏิปกษ (dual culture technique) 4 ชนิดดวยกัน คือ
            เชื้อราไตรโคเดอรมา ชีวภัณฑชื่อ พีพี - ไตรโค (Trichodermaharzianum) เชื้อแบคทีเรียบาซิลลัส 2 ชนิด
            ชีวภัณฑชื่อ พีพี - บีเค 33 (Bacillus subtilis/amyloliquefaciens) และพีพี - บี 15 (B. amyloliquefaciens)
            ผลปรากฏวา จุลินทรียปฏิปกษที่อยูในรูปของชีวภัณฑ (หลังจากเก็บรักษา 1 เดือน) มีประสิทธิภาพในการยับยั้ง

            การเจริญเติบโตของเชื้อราสาเหตุโรคผลเนาทั้ง 4 สกุล เกิน 80 เปอรเซ็นต โดยพีพี-ไตรโคใหเปอรเซนตยับยั้ง
            สูงสุด จึงเลือกพีพี - ไตรโคไปใชทดสอบในแปลงปลูกตอไป ขั้นตอนตอไป คือ การทดสอบหลักการ IPM ในการ
            ปลูกเสาวรส ดังนี้

                  1  เตรียมดิน โดยการขุดดินตากแดดจัดเปนเวลา 1 สัปดาห

                  2  เตรียมแปลงปลูก ปรับคา pH ของดิน เปน 6.2 ซึ่งอยูในชวงที่เหมาะสม (5.5 - 6.8) ขุดหลุมและ
            รองกนหลุมดวยปุยหมักที่สลายตัวดีแลว และทําการขยายเชื้อดวยไตรโคเดอรมา (ปุยหมักไตรโคเดอรมา)
            ปองกันโรคทางราก

                  3  ใชสตารเกิล - จี ใสลงในหลุมดวย เพื่อกําจัดแมลงศัตรูทําลายรากในดิน และปองกันแมลงปากดูด
            ในระยะแรก ๆ
                  4  ใชตนพันธุที่ปลอดเชื้อไวรัส
                  5  เลือกใชสารเคมีกําจัดโรคและแมลงศัตรูพืชมาใชใหถูกตอง อยางนอย 2 ชนิด สําหรับโรคและ 2 ชนิด
            สําหรับแมลง โดยเลือกกลุมสารออกฤทธิ์ที่ตางกัน

                  6  ใชพีพี - ไตรโคพนอยางสมํ่าเสมอ เพื่อสงเสริมการเจริญเติบโต และปองกันโรคผลเนาและอื่น ๆ
                  7  การบํารุงรักษา โดยใหปุยใหนํ้าอยางสมํ่าเสมอกําจัดวัชพืช ตรวจสอบเฝาระวังการเขาทําลายของ
            ศัตรูพืช

                  8  ปลูกพืชในโรงเรือนเปด เพื่อลดการทําลายของโรคและแมลงศัตรูพืช

                  ผลการทดสอบพบวา จากการใชหลักการ IPM อยางครบถวน ผลที่ไดออกมาดี ในเรื่องของโรงเรือน
            พบวา การใชโรงเรือนระบบปดที่มีตาขายคลุมทั้งโรง จะมีผลตอการติดดอกออกผลของเสาวรส เนื่องจากไมมี
            แมลงชวยผสมเกสร การระบายอากาศจะนอยกวาระบบเปด และการใชพีพี - ไตรโค พนสมํ่าเสมอในเวลาเย็น

            โดยเฉพาะอยางยิ่งชวงที่มีฝนตกและชวงที่มีอากาศชื้น ชวยลดการทําลายของโรคไดดี การใชสารเคมีแทบจะ
            ไมตองใชเลย นอกเหนือจากการใชสตารเกิล - จี รองกนหลุม


                 ผลการทดลองไดนําไปใชเผยแพรไปยังเจาหนาที่สงเสริมและเกษตรกรแลวดังนี้



                  1  ที่ศูนยฯ หมอกจาม ไดปรับปรุงโรงเรือนผลิตแมพันธุสําหรับขยายพันธุปลอดเชื้อโรคไวรัสและอื่น ๆ

            โดยไดรับพันธุเสาวรสหวานปลอดเชื้อจาก Dr. Wen-Li Lee ที่ปรึกษาโครงการวิจัยตั้งแตป 2559 ภายใตการ
            สนับสนุนจากกองทุนโครงการรวมมือดานการพัฒนานานาชาติ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน (ไตหวัน)
            (ICDF) โดยการปลูกเสาวรส 3 พันธุ คือ พันธุไทนุง หมาเทียนชิง และเหลืองหวาน นําพันธุไทนุงมาทดสอบ
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15