Page 160 -
P. 160
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
(Ratio Scale) สวนการทําตารางไขวใชสําหรับตัวแปรในมาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale) และ
มาตราเรียงอันดับ (Ordinal Scale) จะนิยมใชตารางไขวแสดงความสัมพันธของขอมูลนั้น
7.8 การพัฒนาแบบจําลองเชิงพื้นที่
การพัฒนาแบบจําลองเชิงพื้นที่มี 2 แบบคือ แบบจําลองแบบสุม (Stochastic Model) และแบบจําลอง
เชิงประจักษ (Deterministic Model) แบบจําลองแบบสุมจะถูกประยุกตใชเมื่อมีขอมูลจํานวนมากแตยัง
ไมทราบพฤติกรรมหรือผลที่แนชัดแตทราบผลที่เปนไปได ดังนั้นจึงอาศัยหลักการความนาจะเปนที่จะ
ทํานายพฤติกรรมที่จะเกิดขึ้นนั้น ในทางตรงขามกระบวนการทําแบบจําลองเชิงประจักษจะใชเมื่อมี
ขอมูลเพียงเล็กนอยโดยผูใชมีความเขาใจถึงการเปลี่ยนแปลงปรากฏการณตามธรรมชาติของขอมูลที่
รวบรวมตามประวัติความมาเปนระยะเวลาหนึ่งหรือยาวนานกวานั้น
หลักการพัฒนาแบบจําลองที่เกี่ยวของกับกระบวนการประมาณคาเชิงพื้นที่ดานสารสนเทศภูมิศาสตร
จะสมมุติความสัมพันธของเชิงพื้นที่เปนไปตามกฏขอที่ 1 ของระบบสารสนเทางภูมิศาสตรคือ “(วัตถุ)
ทุก ๆ สิ่งจะถูกทําใหเกิดความสัมพันธกันกับสิ่งที่อยูในอาณาเขต (Space) ใกล ๆ ดวย
ความสัมพันธระหวางอรรถาธิบายของวัตถุนั้น ๆ ” (Tobler, 1970)
การพัฒนาแบบจําลองเชิงเปนการนําเอาความรูทั้งหมดที่ไดกลาวมาตั้งแตตนของตํารานี้และรวมไปถึง
เนื้อหาตาง ๆ ในหัวขอ 7.1-7.7 นํามาประยุกตใชเพื่อที่จะตอบคําถามถึงการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตน
และตัวแปรตามในพื้นที่ศึกษาวาสัมพันธกันอยางไร ผลลัพธที่ไดจะตอบสนองการแปรเปลี่ยนนั้น
อยางไร ตัวอยางความตองการในการวิเคราะหเพื่อพัฒนาแบบจําลองเชิงพื้นที่ที่พบสวนใหญจะ
กลาวถึง เชน ความเหมาะสมของพื้นที่
สวนเนื้อหาเกี่ยวของกับการประยุกตใชแบบจําลองเชิงพื้นที่ในระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตรจะได
ยกตัวอยางในบทที่ 9 ตอไป
7.9 เนื้อหาที่จะกลาวถึงในบทตอไป
เนื้อหาในบทตอไปจะไดอธิบายเนื้อหาในบทตอไปจะไดอธิบายถึงกระบวนการพื้นฐานที่เกี่ยวกับแผนที่
ผูที่จะประยุกตใชระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตรจะตองมีความรูความเขาใจในเรื่องนี้เปนอยางดี เพราะ
แผนที่ประกอบไปดวยกลไกสองสวนคือ เปนสิ่งที่ใชในการจัดเก็บขอมูล และเพื่อการสื่อสารขอมูล
-151-