Page 159 -
P. 159
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การวิเคราะหและสังเคราะหใหไดขอมูลใหม ๆ การวิเคราะหทางสถิติพื้นฐานในระบบสารสนเทศทาง
ภูมิศาสตรที่นิยมใชกัน เชน สถิติพรรณนา ฮิสโตรแกรม คาขีดสุด และความสัมพันธ
7.7.1 สถิติพรรณนา
สถิติพรรณนาใชเพื่อบรรยายถึงขอเท็จจริงของขอมูล,เพื่อเปนแนวทางในการวิเคราะหเชิงพื้นที่ในขั้น
ตอไป ใชชวยในการนําเสนอผลการวิเคราะหและอธิบายสื่อความหมายใหผูอื่นเขาใจ ตัวอยางสถิติ
พรรณา เชน
- การหาคากลางของขอมูล เชน การหาคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม
- การวัดการกระจายของขอมูล เชน การหาคาพิสัย ความเบี่ยงเบนควอไทล ความ
แปรปรวน ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาสัมประสิทธความเบ (Skewness)
7.7.2 ฮิสโตแกรม
ฮิสโตแกรม หรือการนับความถี่เปนการแสดงถึงการกระจายของขอมูลอรรถาธิบายที่อยูในชั้นขอมูลที่
กําหนดไว การทําฮิสโตรแกรมในโครงสรางแบบแรสเตอรกระทําแบบตรงไปตรงมาคือใชคาที่ถูกจัดเก็บ
ในจุดภาพทั้งหมดที่อยูในภาพมาทําการคํานวณ สวนโครงสรางขอมูลแบบเวกเตอรจะใชหลักการถวง
น้ําหนักจากขอมูลอรรถาธิบายที่บรรจุในแตละรูปปดหลายเหลี่ยมนั่นเอง
7.7.3 คาขีดสุด
คาขีดสุดเปนการระบุเพื่อหาคาสูงสุด หรือต่ําสุดในพื้นที่ศึกษาที่กําหนด ขอมูลตามโครงสรางเวกเตอร
จะแสดงคาสูงสุดที่เปนตัวแทนสาลักษณนั้นเพียงคาเดียว เชน ถาเปนรูปปดหลายเหลี่ยมก็จะแสดง
ขอมูลคาสูงสุดของรูปปดหลายเหลี่ยมเพียง 1 วัตถุ (Entity) ถาเปนขอมูลตามโครงสรางแรสเตอรก็จะ
แสดงคาสูงสุดเพียง 1 คาจากจํานวนจุดภาพทั้งหมดที่อยูในภาพนั้น
7.7.4 ความสัมพันธ
การวิเคราะหความสัมพันธของการกระจายเชิงพื้นที่จากขอมูลอรรถาธิบายตั้งแตสองชั้นขอมูลขึ้นไปจะ
เกี่ยวของกับเรื่องตาง ๆ เชน การหาคาสัมประสิทธิความสัมพันธ สมการถดถอยเชิงเสน และการทํา
ตารางไขว (Cross-Tabulation) สถิติสองแบบแรกขอมูลที่จะนํามาใชในการกระทําในรูปแบบ
ความสัมพันธนี้มักเกี่ยวของกับตัวแปรในมาตราอันตรภาค (Interval Scale) และมาตราอัตราสวน
-150-