Page 141 -
P. 141
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ความเหมาะสม A=PH+0.06*RH (รูปที่ 7.9 ค, คา A จะมีคาระหวาง 1-20) ถา A มีคาอยูระหวาง 9-
14 ถือวามีความเหมาะสม นอกจากชวงนี้ถือวาไมเหมาะสมสําหรับปลูกพืชชนิดนี้และทําการจัดกลุม
ใหมไดดังรูปที่ 7.9 ง.
7.1.5 การหลอมรวมขอมูล (Dissolve)
เทคนิคนี้จะเปนการสรางขอมูลหนึ่งเขตขอมูลจากขอมูลอรรถาธิบายของรูปปดหลายเหลี่ยมหลายกอน
ซึ่งผานกระบวนการในการจัดกลุมใหมของขอมูลมาแลวโดยเทคนิคนี้จะเปนการหลอมรวมขอบเขตของ
พื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยมซึ่งมีขอมูลอรรถาธิบายชนิดเดียวกันผนวกเขาดวยกันกลายเปนเนื้อเดียวกัน
ตัวอยางเชน หลอมรวมอําเภอทั้งหมดใหเปนขอบเขตในจังหวัดเดียวกัน การหลอมรวมขอมูลจังหวัดที่
ติดกันใหเปนภาคเดียวกัน และอื่น ๆ (ดังที่ไดแสดงมาแลวในรูปที่ 7.1)
7.1.6 พื้นที่กันชน (Buffer)
เทคนิคนี้เปนการสรางพื้นที่ใหมจากสาลักษณแบบจุด เสนและรูปปดหลายเหลี่ยม รูปแบบพื้นที่กันชน
อาจจะเปนไดทั้งแบบวงกลมและสี่เหลี่ยมตามวัตถุประสงคของผูใช ตัวอยางการกระทําพื้นที่กันชนของ
สาลักษณแตละประเภทแสดงดังรูปที่ 7.10
7.2 การดําเนินการทางเรขาคณิต
ดังไดกลาวมาแลววาการดําเนินการทางเรขาคณิต เปนกระบวนการที่เกี่ยวของกับหมุน การเลื่อนที่
การยอขยาย การตรึงภาพ และการลงทะเบียนเพื่อใสพิกัดขอมูล หรือ เรียกวา “การลงทะเบียนภาพ”
ในหัวขอนี้จึงจะไดกลาวถึงรายละเอียดตาง ๆ ดังนี้
7.2.1 การหมุน การเลื่อนที่ และการยอขยายภาพ
การหมุน การเลื่อนที่และการยอขยายเปนกระบวนการดําเนินทางเรขาคณิตพื้นฐานของการตรึงภาพ
และการลงทะเบียนภาพ กระบวนการทางเรขาคณิตทั้งสามรวมกันเรียกวา “การแปรสภาพรูปภาพ”
(Affine Transformation) การหมุนภาพมักจะอางอิงทิศทางการหมุนรอบจุดศูนยกลางภาพโดยวัดมุม
อางอิงเทียบกับทิศเหนือโดยมุม R(θ) ที่กระทําตรงกับทิศเหนือจะมีคามุม θ = 0° และวัดตามเข็ม
นาฬิกา แลววนกลับมาที่มุม θ = 360° ทับกับตําแหนงทิศเหนือเดิม การเลื่อนที่ (T(x,y) เชน ในสอง
-132-