Page 140 -
P. 140

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                               ค. อรรถาธิบายแผนที่บอบาดาล      ง. อรรถาธิบายแผนที่อําเภอ

                                    ID  บอเลขที่                    ID      อําเภอ


                                     I     53001                     A       หางดง

                                     II   53002                      B        เมือง
                                     III   53003                     C       แมริม

                                    IV    53004                      D     สันกําแพง
                                     V    53005

                                    VI    53006

                                    VII  53007


               วิธีทํา
                       นําแผนที่มาซอนทับกัน ผลลัพธแสดงเปนแผนที่และอรรถาธิบายดังนี้

                                                          ID  ID_0  บอเลขที่  ID_1        อําเภอ

                                                          1      I      53001      A       หางดง
                        1                     5
                                   4                      2     IV      53004      A       หางดง

                    A
                                  B   B       C           3     VI     53006       D     สันกําแพง
                          2
                                                6
                  จ.แผนที่บอบาดาลแตละอําเภอ      ฉ.     4      II     53002      B        เมือง
                อรรถาธิบายแผนที่บอบาดาลแตละอําเภอ       5     III     53003      C       แมริม
                            D
                          3
                                             7
                            C                             6     VII     53007      C       แมริม
                                                          7      V      53005      D     สันกําแพง



               7.1.4 การซอนทับแรสเตอร (Raster Overlay)


               โครงสรางราสเตอรประกอบไปดวยขอมูลที่ถูกบรรจุในจุดภาพ ดังนั้นการซอนทับเชิงพื้นที่จะพิจารณา

               แยกเปนจุดภาพอิสระกระทํากับเฉพาะจุดภาพเดี่ยวที่อยูตรงกันระหวางชั้นขอมูลที่พิจารณาเทานั้น ซึ่ง

               ตางจากโครงสรางแบบเวกเตอรซึ่งพิจารณาวัตถุทั้งกอนที่มีลักษณะใหญกวาจุดภาพ ฟงกชันทาง
               คณิตศาสตรในการซอนทับขอมูลราสเตอรก็จะมีลักษณะคลายกันกับโครงสรางแบบเวกเตอร คือ

               ประยุกตใชฟงกชันพีชคณิตทั่วไป เชน การบวก ลบ คูณ หาร ยกกําลังและอื่น ๆ หรือจะใชฟงกชัน

               ตรรกศาสตรทั่วไปกระทําก็ได เชน “And” “Or” “Not” “XOR”  และอื่น ๆ ตัวอยางการซอนทับขอมูล
               โครงสรางแรสเตอรแสดงดังรูปที่ 7.9  จากรูปเปนการซอนทับขอมูลโครงสรางแรสเตอรเพื่อวิเคราะห

               ความเหมาะสมในการเจริญเติบโตของตนไมชนิดหนึ่งดวยคา PH  ของดิน  (รูปที่ 7.9  ก.  PH  มีคาอยู

               ในชวง 1-14) และ คาความชื้นของดิน (รูปที่ 7.9 ข. RH มีคาอยูในชวงรอยละ 0-100) สมมุติวาสมการ

                                                          -131-
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145