Page 75 -
P. 75
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ทฤษฏีการบ าบัดคู่สมรสและครอบครัว
69
ผู้บ าบัดช่วยให้คู่สมรสและครอบครัวระบุถึงช่วงเวลาที่เป็นข้อยกเว้น โดยการตั้งค าถาม เช่น
- “มาลองดูกันสิว่า มันมีอะไรที่แตกต่างกันระหว่างช่วงที่คุณสองคนสามารถพูดคุยกันได้ด้วยดี
กับช่วงที่พูดแล้วทะเลาะกัน”
- “ถ้านึกไม่ออกว่ามีช่วงไหนบ้างที่ไม่ทะเลาะกัน ให้ลองนึกถึงช่วงที่คุณทั้งสองคนยังมีความสุข
ความพอใจกันดี ตอนนั้นต่างจากตอนนี้ยังไง”
[2] ค าถามปาฏิหาริย์ (Miracle questions)
ค าถามในรูปแบบนี้ช่วยให้คู่สมรสและครอบครัวอธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงที่ต้องการได้อย่าง
ชัดเจนเป็นรูปธรรม (ซึ่งอาจเป็นการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม หรือภายในตัวบุคคล) และอาจใช้สิ่งนั้น
้
เป็นเปาหมายหรือแนวทางส าหรับการบ าบัดต่อไป
ตัวอย่างค าถามเช่น
ั
“สมมุติว่าคืนหนึ่งระหว่างที่คุณนอนหลับ ปาฏิหาริย์ได้เกิดขึ้น และเมื่อคุณตื่นปญหา
ั
ของคุณได้หมดไป คุณคิดว่าจะมีอะไรเปลี่ยนแปลงไป และคุณจะรู้ได้อย่างไรว่าปญหา
ได้หมดไปแล้ว”
หลังจากการถามค าถามปาฏิหาริย์กับครอบครัวแล้ว ผู้บ าบัดอาจถามต่อว่า
ั
“คุณบอกว่า X เป็นสิ่งที่จะบอกได้ว่าปญหาของคุณหมดไปแล้ว งั้นเราลองมาดูกันซิว่า
จะต้องท าอะไรเพื่อให้ X เกิดขึ้น”
(Well, since all of you indicated that X would be a good indication of the problem
being gone, let’s see what need to happen to make X reality in your family).
ค าถามปาฏิหาริย์จะช่วยย ้าจุดแข็งของคู่สมรสและครอบครัว (Strengths-based approach)
ั
ั
และช่วยให้ครอบครัวหารือร่วมกันเกี่ยวกับวิธีการแก้ปญหามากขึ้นแทนการพูดถึงแต่ปญหา
[3] ค าถามวัดระดับ (Scaling question)
ค าถามในลักษณะการวัดระดับ จะช่วยให้บุคคลและครอบครัวก าหนดขอบเขตและลักษณะ
ั
ของปญหา (define scope and nature of the problem) ผู้บ าบัดอาจขอให้บุคคลหรือครอบครัว
ประเมินระดับความเข้มข้น ความส าคัญ หรือผลกระทบของสถานการณ์หรือเหตุการณ์
ตัวอย่างเช่น
ั
ั
“จาก 1 – 10 โดยที่ 1 หมายถึงไม่มีปญหาเลย และ 10 หมายถึงปญหาเลวร้ายที่สุด
คุณคิดว่าตอนนี้คุณและสามีขัดแย้งกันอยู่ในระดับไหน”
[Type text]