Page 64 -
P. 64

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       3-8




                                        2. สาเหตุทางออม
                                               2.1 แนวเขตปาและการจําแนกการใชที่ดินไมชัดเจน
                                               2.2 สังคมขาดความรูและความตระหนักเกี่ยวกับการอนุรักษ

                                               2.3 ขาดการบูรณาการระหวางหนวยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการ
                  จัดการทรัพยากรปาไมและสิ่งแวดลอม
                                               2.4 ความยากจนนําไปสูการใชพื้นที่ปาเพื่อการดํารงชีพ
                                               2.5 ความขัดแยงระหวางนโยบายการอนุรักษกับการดําเนินการตาม
                  ยุทธศาสตรการพัฒนาเศรษฐกิจ เชน (ก) รัฐบาลและบริษัทเอกชนสงเสริมการปลูกพืชอาหารและพืช

                  พลังงาน โดยการประกันราคาผลผลิตที่อาจเปนสิ่งจูงใจมีการบุกรุกแผวถางปาเพิ่มขึ้น (ข) การสงเสริมการ
                  ทองเที่ยวในเขตปาธรรมชาติของอุทยานแหงชาติโดยไมมีการควบคุมผลกระทบและศักยภาพรองรับของพื้นที่
                                               2.6 นโยบายแกไขปญหาความขัดแยงที่ดินปาไมขาดความยั่งยืนและ

                  ชัดเจนในทางปฏิบัติ
                                               จะเห็นไดวาในชวงเวลา 20 ปที่ผานมาความเห็นของกรมปาไมยังเปนไป
                  ในทิศทางเดียวกัน ทั้งๆ ที่มีนโยบายของรัฐกําหนดขึ้นอยางตอเนื่องในชวงเวลาดังกลาวนี้ ดังรายละเอียดใน
                  ตารางที่ 3-4


                  ตารางที่ 3-4 เปรียบเทียบสาเหตุของการบุกรุกทําลายปาไมโดย กรมปาไม พ.ศ. 2539 และ พ.ศ.2559

                         สาเหตุของการบุกรุกทําลายปาไม พ.ศ. 2539       สาเหตุของการบุกรุกทําลายปาไม พ.ศ.2559

                   1. นโยบายของรัฐ                                 1. สาเหตุโดยตรง
                       เนื่องจากนโยบายของรัฐดานการอนุรักษปาไมและการจัดที่ดินทํากิน       1.1 การบุกรุกแผวถางปาเพื่อการเกษตรและรีสอรท (การเปลี่ยน
                   และการพัฒนาการเกษตรไมประสานสอดคลองซึ่งกันและกัน   พื้นที่ปาธรรมชาติไปเปนพื้นที่เกษตรกรรม เชน พืช อาหาร และพืช
                   2. ความตองการที่ดินเชิงพาณิชย เนื่องจากแผนพัฒนาประเทศเนนการ  พลังงาน และการสรางรีสอรท
                   สงออกจากผลผลิตทางการเกษตร รวมทั้งธุรกิจการคาที่ดินเพื่อสราง      1.2 การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เชน ถนน อางเก็บน้ําเพื่อ
                   กิจกรรมที่มีผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ เชน สนามกอลฟหรือการขยายตัว  การเกษตร แนวสายไฟฟา
                   ของอสังหาริมทรัพย                                  1.3 การทําเหมืองแร
                   3. การเพิ่มขึ้นประชากรโดยเฉพาะในชนบทที่ตองการที่ดินทํากินและ   2. สาเหตุทางออม
                   ตั้งถิ่นฐาน                                          2.1 แนวเขตปาและการจําแนกการใชที่ดินไมชัดเจน
                   (กรมปาไม, 2539: 2-3)                               2.2 สังคมขาดความรูและความตระหนักเกี่ยวกับการอนุรักษ
                                                                        2.3 ขาดการบูรณาการระหวางหนวยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการ
                                                                   จัดการทรัพยากรปาไมและสิ่งแวดลอม
                                                                         2.4 ความยากจนนําไปสูการใชพื้นที่ปาเพื่อการดํารงชีพ
                                                                         2.5 ความขัดแยงระหวางนโยบายการอนุรักษกับการดําเนินการ
                                                                   ตามยุทธศาสตรการพัฒนาเศรษฐกิจ เชน (ก) รัฐบาลและ
                                                                   บริษัทเอกชนสงเสริมการปลูกพืชอาหารและพืชพลังงาน โดยการ
                                                                   ประกันราคาผลผลิตที่อาจเปนสิ่งจูงใจมีการบุกรุกแผวถางปาเพิ่มขึ้น
                                                                   (ข) การสงเสริมการทองเที่ยวในเขตปาธรรมชาติของอุทยานแหงชาติ
                                                                   โดยไมมีการควบคุมผลกระทบและศักยภาพรองรับของพื้นที่
                                                                         2.6 นโยบายแกไขปญหาความขัดแยงที่ดินปาไมขาดความยั่งยืน
                                                                   และชัดเจนในทางปฏิบัติ
                                                                   กรมปาไม (2559 : 35-37)
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69