Page 63 -
P. 63

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       3-7




                                “ชาวเขาทําการเพาะปลูกแบบโคนไมและเผาปา หรือทําไรเลื่อนลอย (Shifting
                  Culitivation)  เปนสําคัญ ซึ่งเปนผลใหเกิดการตัดไมทําลายปาและตนน้ําลําธารไปเปนจํานวนนับหลายลานไร
                  ประมาณวาเนื้อที่ปาไมและตนน้ําลําธารทางภาคเหนือถูกชาวเขาทําลายไปประมาณปละ 100,000-200,000 ไร

                  การที่พื้นที่ปาไมในภาคเหนืออันเปนแหลงตนน้ําลําธารที่กอใหเกิดแมน้ําสายสําคัญๆ ไหลมาหลอเลี้ยงที่ราบ
                  ภาคกลางไดลดลงเปนจํานวนมากมายนั้นเปนผลมาจากการตัดไมทําลายปา เพื่อทําไรเลื่อนลอยของชาวเขา
                  อยางไมตองสงสัย ขณะเดียวกันบรรดาพอคาไมในภาคเหนือ และบรรดาคนไทยที่ขึ้นไปทําไรเลื่อนลอยบน
                  เขาก็มีสวนสําคัญในการทําลายปาไมดวย”
                                รวมทั้งเกษม จันทรแกว (2535: 53-60) ไดตั้งคําถามจากสาธารณะวาถึงเวลาหรือยังที่ปา

                  ตนน้ําจะเปนเขตปลอดกิจกรรมจากการใชประโยชนเพื่อกิจกรรมตางๆ โดยอธิบายไววา
                                        “การแผวถางทําลายปาตนน้ําเปนหยอมกวาง พื้นที่ปาไมติดตอกันเปนผืนใหญ
                  ทําใหการเปลี่ยนแปลงไมเพียงแตการเปลี่ยนแปลงลักษณะอากาศใกลผิวดิน ทําลายที่อยูอาศัยของสัตวปา

                  และทําลายพันธุกรรมของพืชและสัตวหลายชนิด ยังทําใหเพิ่มพลังงานการพังทลายของดิน การไหลบาหนา
                  ผิวดินเพิ่มทวีคูณเทากับเพิ่มศักยภาพการเกิดอุทกภัยในทองที่ การสูญเสียการระเหยน้ําสูง  การซึมน้ําผาน
                  ผิวดินต่ํา และดินดูดซับไดนอย ทําใหการขาดน้ําในฤดูแลงในลําหวย ลําธาร หนอง คลอง บึง อยางหลีเลี่ยง
                  ไมได ทั้งหมดนี้จะเห็นไดวาทําไมประเทศไทยมีความแหงแลงในปจจุบัน ไมใชเพราะการทําลายปาตนน้ํา

                  ลําธารและใหมีการตั้งถิ่นฐานบริเวณตนน้ําลําธาร หรือ?”

                                (2) ความเห็นของกรมปาไมตอการบุกรุกทําลายปาไม
                                ในการจัดทําแผนแมบทการพัฒนาปาไมในป 2538-2539 กรมปาไมไดสรุปถึงสาเหตุของ
                  การบุกรุกทําลายปาไมที่มีผลตอการลดลงของพื้นที่ปาไมไว 3 ประการ คือ

                                        1. นโยบายของรัฐ
                                        เนื่องจากนโยบายของรัฐดานการอนุรักษปาไมและการจัดที่ดินทํากิน และการ
                  พัฒนาการเกษตรไมประสานสอดคลองซึ่งกันและกัน

                                        2. ความตองการที่ดินเชิงพาณิชย เนื่องจากแผนพัฒนาประเทศเนนการสงออก
                  จากผลผลิตทางการเกษตร รวมทั้งธุรกิจการคาที่ดินเพื่อสรางกิจกรรมที่มีผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ เชน
                  สนามกอลฟหรือการขยายตัวของอสังหาริมทรัพย
                                        3. การเพิ่มขึ้นประชากรโดยเฉพาะในชนบทตองการที่ดินทํากินและตั้งถิ่นฐาน

                  (กรมปาไม, 2539: 2-4)

                                ตอมาในป 2559 ในยุทธศาสตรกรมปาไม พ.ศ.2559-2564 (กรมปาไม, 2559: 3) ไดระบุ
                  สาเหตุของลดลงของพื้นที่ปาไมทางตรง 3 ประการ และสาเหตุทางออม 6 ประการ ดังรายละเอียดตอไปนี้
                                        1. สาเหตุโดยตรง

                                               1.1 การบุกรุกแผวถางปาเพื่อการเกษตรและรีสอรท (การเปลี่ยนพื้นที่
                  ปาธรรมชาติไปเปนพื้นที่เกษตรกรรม เชน พืช อาหาร และพืชพลังงาน และการสรางรีสอรท)
                                               1.2 การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เชน ถนน อางเก็บน้ําเพื่อการเกษตร

                  แนวสายไฟฟา
                                               1.3 การทําเหมืองแร
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68