Page 118 -
P. 118

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               พื้นที่ในกำรเพำะปลูกของผลไม้ทั้งสองชนิดมีกำรเพิ่มขึ้นอย่ำงต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 แต่ไม่มำกนัก

               ในขณะที่พื้นที่กำรเพำะปลูกล ำไยมีพื้นที่เฉลี่ยประมำณ 20 ไร่ และมีพื้นที่กำรเพำะปลูกที่ลดลง



                       ช่องทำงกำรจ ำหน่ำยทุเรียน โดยรวมเกษตรกรมีกำรขำยผ่ำนพ่อค้ำคนกลำงรำยย่อยมำกที่สุดคือ

               ร้อยละ  46  ของผลผลิต รองลงมำคือกำรขำยผ่ำนล้งไทยคิดเป็นร้อยละ 28  กำรขำยผ่ำนล้งจีนมีเพียงร้อยละ

               18 แต่พบว่ำเกษตรกรที่มีพื้นที่กำรเพำะปลูกทุเรียนขนำดใหญ่มีกำรขำยผลผลิตผ่ำนล้งจีนเป็นสัดส่วนถึง

               ร้อยละ  30  ในขณะที่เกษตรกรที่มีพื้นที่กำรเพำะปลูกขนำดเล็กมีกำรขำยผ่ำนล้งจีนเพียงร้อยละ  10  เท่ำนั้น

               เกษตรกรผู้ปลูกมังคุดมีกำรขำยผลผลิตผ่ำนพ่อค้ำคนกลำงรำยย่อยมำกที่สุดคิดเป็นร้อยละ 36  ของผลผลิต


               รองลงมำคือกำรขำยผ่ำนล้งจีนร้อยละ 28 ช่องทำงกำรจ ำหน่ำยผลผลิตของเกษตรกรผู้ปลูกมังคุด

               แต่สัดส่วนกำรขำยมังคุดผ่ำนล้งจีนนั้นไม่มีควำมแตกต่ำงกันตำมขนำดของพื้นที่กำรเพำะปลูก



                       ส ำหรับช่องทำงกำรจ ำหน่ำยล ำไยในปี พ.ศ. 2562 เกษตรกรมีสัดส่วนกำรจ ำหน่ำยผลผลิตผ่ำนล้งจีน

               ถึง ร้อยละ 70  ของผลผลิต รองลงมำคือกำรขำยผลผลิตผ่ำนล้งไทยร้อยละ 14 ผลผลิตที่เหลือเป็นกำรขำย

               ผ่ำนช่องทำงอื่นๆ ดังนั้นช่องทำงกำรขำยล ำไยของเกษตรกร มีลักษณะพึ่งพำล้งจีนค่อนข้ำงมำก และมีสัดส่วน

               กำรขำยผลผลิตผ่ำนสองช่องทำงนี้เกินร้อยละ  80  ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559  เป็นต้นมำ แต่อย่ำงไรก็ตำม พบว่ำ

               สัดส่วนกำรขำยล ำไยผ่ำนล้งจีนในปัจจุบันมีแนวโน้มที่ลดลงจำกช่วงปีก่อนหน้ำที่มีสัดส่วนถึงประมำณร้อยละ

               90 ในขณะที่กำรขำยผ่ำนล้งไทยมีสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นจำกอดีตค่อนข้ำงมำก นอกจำกนั้น ยังพบว่ำเกษตรกรผู้ปลูก

               ล ำไยพื้นที่เพำะปลูกขนำดใหญ่ มีกำรขำยผ่ำนล้งจีนเป็นสัดส่วนร้อยละ 83 ซึ่งสูงกว่ำเกษตรกรพื้นที่ขนำดเล็กที่

               มีกำรขำยผ่ำนล้งจีนเพียงร้อยละ  64  แตกต่ำงจำกสัดส่วนกำรขำยผลผลิตผ่ำนล้งจีนในอดีตของเกษตรกรทั้ง

               สองกลุ่ม ซึ่งเดิมมีกำรขำยผลผลิตผ่ำนช่องทำงนี้ที่ใกล้เคียงกันคือประมำณร้อยละ 93 ในช่วงก่อนหน้ำ



                       นอกจำกนั้น ยังพบว่ำปัจจุบันประมำณร้อยละ 13 ของเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนมีกำรขำยใบหรือขำย

               เหมำสวน ในขณะที่เพียงร้อยละ 4 ของเกษตรกรผู้มังคุดมีกำรขำยใบกับล้งจีน ส ำหรับกำรปลูกล ำไยนั้นพบว่ำ


               เกษตรกรส่วนใหญ่ประมำณร้อยละ 77 มีกำรขำยใบ ประมำณร้อยละ 4 ของเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนตอบว่ำเคย
               ถูกโกง ขณะที่เกษตรกรผู้ปลูกมังคุดน้อยกว่ำร้อยละ 1  เคยถูกโกง แต่เกษตรกรที่ปลูกล ำไยถึงร้อยละ 25


               ตอบว่ำเคยถูกโกงจำกล้งจีน ซึ่งอำจเป็นสำเหตุที่ท ำให้เกษตรกรพื้นที่ขนำดเล็กลดช่องทำงกำรจ ำหน่ำยผ่ำนล้ง

               จีนเพรำะเคยถูกล้งจีนโกงเนื่องจำกเกษตรกรเหล่ำนี้มีอ ำนำจกำรต่อรองที่ต่ ำ





               ส ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย             106                   สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์
               ฝ่ำยเกษตร
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123