Page 77 -
P. 77
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
43
ทรัพยำกรจำกธรรมชำติลดลง คือ ในปี 2552 มีจ ำนวนร้อยละ 67.14 ของครัวเรือนทั้งหมด ในขณะที่ในปี
2561 เหลือจ ำนวนครัวเรือนที่เก็บทรัพยำกรจำกธรรมชำติ เท่ำกับร้อยละ 50.60 โดยชำวบ้ำนมีกำรเก็บเกี่ยว
ทรัพยำกรจำกธรรมชำติ แบ่งออกเป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ คือ กำรตัดไม้ (เก็บหรือตัดไม้ในป่ำเพื่อน ำมำท ำฟืน
หรือถ่ำน) กำรเก็บพืชผัก (เก็บเห็ด หน่อไม้ หรือผักป่ำชนิดต่ำงๆ) กำรล่ำสัตว์หรือจับสัตว์ (หำกบ เขียด หรือ
หนู มำรับประทำน) และกำรหำปลำ (เช่น ปลำขำว ปลำดุก)
โดยสัดส่วนกำรหำทรัพยำกรจำกธรรมชำติของครัวเรือนส่วนใหญ่คือกำรเข้ำไปเก็บพืชผักในป่ำ คิด
เป็นร้อยละ 47.62 ปี 2552 อย่ำงไรก็ดีสัดส่วนกำรเก็บเกี่ยวทรัพยำกรจำกธรรมชำติมีกำรเปลี่ยนแปลงไป คือ
ครัวเรือนมีสัดส่วนกำรล่ำสัตว์หรือจับสัตว์น้อยลง และหำปลำหำพืชผักมำกขึ้นในปี 2561 ดังภำพที่ 3.9
ภาพที่ 3.9 สัดส่วนกำรเก็บเกี่ยวทรัพยำกรจำกธรรมชำติของหมู่บ้ำนซับเจริญ จังหวัดเพชรบูรณ์ ในปี 2552
และ2561
การเก็บเกี่ยวทรัพยากรจากธรรมชาติ
ตัดไม้/ท าฟืน 21.62
21.90
เก็บพืชผัก 52.70
47.62
ล่าสัตว์/จับสัตว์ 4.05 15.24 2561
2552
การหาปลา 21.62
15.24
0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00
ร้อยละ
ที่มำ: จำกกำรส ำรวจ
3.3 การเปลี่ยนแปลงความด้านเป็นอยู่ รายได้ หนี้สิน และความไม่เท่าเทียมกัน
ด้ำนควำมเป็นอยู่ของครัวเรือนในหมู่บ้ำนซับเจริญ งำนวิจัยพบว่ำ ครัวเรือนมีรำยได้ต่อหัวเพิ่มขึ้น
อย่ำงมีนัยยะส ำคัญจำกในปี 2552 รำยได้ต่อหัวอยู่ที่ 27,365.35 บำทต่อคนต่อปี เพิ่มขึ้นเป็น 50,584.78 บำท
ต่อคนต่อปีหรือคิดเป็นร้อยละ 84.85 จำกรำยได้เดิม เมื่อพิจำรณำเฉพำะรำยได้จำกภำคกำรเกษตรพบว่ำ