Page 68 -
P. 68
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
วันพัฒนาและปลูกต้นไม้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจ าปี 2559
วันพัฒนาและปลูกต้นไม้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจ าปี 2559
วันพัฒนาและปลูกต้นไม้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจ าปี 2559
ต้นเคี่ยม
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cotylelobium lanceolatum Craib[1] (ส่วนอีกข้อมูลใช้
ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cotylelobium melanoxylon (Hook.f.) Pierre)
ชื่อวงศ์ : ยางนา (DIPTEROCARPACEAE)
ชื่อสามัญ : Resak tembaga
ชื่ออื่นๆ : เคี่ยม (ทั่วไป), เคี่ยมขาว เคี่ยมด า เคี่ยมแดง (ภาคใต้)
ลักษณะทั่วไป : ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ล าต้นตั้งตรง มีความสูง
ประมาณ 20-40 เมตร ลักษณะเรือนยอดเป็นพุ่มทึบ รูปเจดีย์แบบต่ า ๆ ส่วน
เปลือกต้นเป็นสีน้ าตาล เปลือกเรียบ มีรอยด่างสีเทาและสีเหลืองสลับกัน
และมีต่อมระบายอากาศกระจายอยู่ทั่วไป เปลือกด้านในเป็นสีน้ าตาลอ่อน มี
ชันใสตามล าต้นและจะจับกันเป็นก้อนสีเหลืองเมื่อทิ้งไว้นาน ๆ
ใบ : เป็นรูปไข่ ปลายใบสอบเรียวหรือหยักเป็นติ่งยาว ส่วนโคนใบมน ใบมี
ขนาดกว้างประมาณ 2-5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 5-18 เซนติเมตร แผ่น
ใบหนา หลังใบเรียบเป็นมัน ส่วนท้องใบมีขนสีน้ าตาลปนสีเหลืองเป็นกระจุก
ดอก : ดอกสีขาวมีกลิ่นหอมแบบอ่อน ๆ ออกดอกเป็นช่อตามยาวที่ปลายกิ่ง
และตามง่ามใบ
ผล : เป็นรูปทรงกลม มีขนาดเล็ก ผลมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.7
เซนติเมตร มีขนนุ่มคล้ายขนก ามะหยี่สีน้ าตาล มีปีก 5 ปีก แบ่งเป็นปีกยาว 2
ปีก ปลายปีกมนเรียวสอบมาทางโคน มีเส้นตามยาว 5 เส้น และปีกสั้นอีก 3
ปีก ลักษณะเป็นรูปหอก ยาวประมาณ 1 ใน 3 รองรับผลอยู่ และจะติดผล
ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน
ประโยชน์ : ใช้ในท าเป็นเรือ หรือจะใช้ในงานก่อสร้างที่ต้องการความแข็งแรง
มาก ๆ เหมาะส าหรับใช้ท าไม้พื้น ไม้กระดาน เสาเรือด รอดตง อกไก่ หรือสิ่ง
ปลูกสร้างอื่น ๆ ที่ต้องตากแดดตากฝน ฯลฯ เปลือกต้นใช้ทุบผสมกับชันใช้
ส าหรับยาเรือ ชันเคียมใช้ผสมในน้ ายางทาไม้ น้ ามันทาไม้ และน้ ามันชักเงา
- ข้อมูลและรูปภาพจากเว็บไซต์ Medthai https://medthai.com/ต้นเคี่ยม/
59 59 59
กองยานพาหนะ อาคารและสถานที่ ส านักงานอธิการบดี
กองยานพาหนะ อาคารและสถานที่ ส านักงานอธิการบดี
กองยานพาหนะ อาคารและสถานที่ ส านักงานอธิการบดี