Page 99 -
P. 99
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 34 (1) : 87-100 (2558) 97
์
Figure 6 Water absorption and thickness swelling of particleboard with varied content of
bamboo charcoal as additives.
Figure 6 Water absorption and thickness swelling of particleboard with varied content of bamboo charcoal as additives.
อิทธิพลของผงถ่านไม้ไผ่ต่อปริมาณการปลด สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ
ปล่อยสารระเหยฟอร์มัลดีไฮด์ของแผ่นชิ้นไม้อัด (International Union of Pure and Applied Chemistry,
การเติมผงถ่านไม้สามารถลดปริมาณสาร IUPAC) อยู่เป็นจ�านวนมากท�าให้ดูดซับสารระเหย
ระเหยฟอร์มัลดีไฮด์ได้ดี (Eom et al., 2006) ซึ่งจะต้อง ฟอร์มัลดีไฮด์ได้ดี (Kim et al., 2006) จากการทดลอง
เติมมากถึงร้อยละ 15 แต่การเติมผงถ่านไม้ไผ่ในแผ่น ของ Eom et al. (2006) การเติมผงถ่านไม้สามารถลด
ชิ้นไม้อัดสามารถลดปริมาณสารระเหยฟอร์มัลดีไฮด์ ปริมาณฟอร์มัลดีไฮด์ได้ดี เมื่อทดสอบด้วยวิธีใช้โถดูด
ได้เพียงเล็กน้อย (Table 6 และ Figure 7) ในการเติม ความชื้นซึ่งเป็นการวัดปริมาณการระเหยของสารฟอร์มัล
ปริมาณผงถ่านไม้สามารถลดปริมาณสารฟอร์มัลดีไฮด์ ดีไฮด์ในน�้าท�าให้ได้ค่าที่ลดลงในการวัดปริมาณสาร
ได้ถึงร้อยละ 60 และ 14 เมื่อทดสอบด้วยวิธีใช้โถ ระเหยซึ่งปริมาณที่ลดลงนี้บางส่วนอาจถูกดูดซับโดย
ดูดความชื้น (Desiccator) และใช้ตู้ปรับสภาวะขนาด ถ่านที่เติมเข้าไป ผลจากการทดลองนี้เป็นไปในทิศทาง
เล็ก (Small Chamber) ตามล�าดับ ซึ่งการเติมผงถ่าน เดียวกันกับการทดลองของ (Eom et al., 2006) ถึงแม้ว่า
ไม้ไผ่ท�าให้ปริมาณสารฟอร์มัลดีไฮด์ลดลงเพียง 10 จะทดสอบด้วยวิธีใช้ขวดตามมาตรฐาน EN 717-3 (EN
เปอร์เซ็นต์ เมื่อทดสอบด้วยวิธีใช้ขวด (Flask Method) Standard, 1996) อย่างไรก็ตามวิธีการประเมินที่แตกต่าง
ถึงแม้ว่าถ่านไม้ไผ่จะมีหมู่ไฮดรอกซีที่ท�าหน้าที่ดูดซับ กัน มีความแปรปรวนเป็นอย่างมาก (Sundman et al.,
สารระเหยฟอร์มัลดีไฮด์อยู่น้อยแต่ ผงถ่านไม้ไผ่ก็มีรู 2007) ความแตกต่างของกรรมวิธีวิเคราะห์ฟอร์มัลดีไฮด์
พรุนขนาดกลาง (Mesopore) (แบ่งตามมาตรฐานของ ได้แสดงไว้ใน Table 7
Figure 7 Formaldehyde emission of particleboard with varied content of bamboo charcoal as Additives.