Page 98 -
P. 98

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 96 4 Strength and stiffness of particleboard with varied content of bamboo charcoal as Additives.
                   Figure                  Thai J. For. 34 (1) : 87-100 (2015)


































                 Figure 5 Internal bonding properties of particleboard with varied content of bamboo charcoal as

        Figure 5 Internal bonding properties of particleboard with varied content of bamboo charcoal as Additives.
                         Additives.

                 อิทธิพลของการเติมผงถ่านต่อคุณสมบัติเชิง      พอสรุปได้ว่าค่าการพองตัวทางด้านความหนาและการ
                 กายภาพของแผ่นชิ้นไม้อัด                     ดูดซับน�้าจะลดลงเมื่อเติมผงถ่านมากขึ้นซึ่งการพองตัว
                        คุณสมบัติทางกายภาพ (Physical Properties)   ทางด้านความหนาของแผ่นชิ้นไม้อัดอาจมีสาเหตุมาจาก

                 ของแผ่นชิ้นไม้อัดที่เติมผงถ่านไม้ไผ่ในที่นี้หมายถึงค่า  3 ทางคือการพองตัวของชิ้นไม้เองจากความเค้นที่เกิดขึ้น
                 การพองตัวด้านความหนา (Thickness Swelling) ค่าการ  ระหว่างการอัดร้อน การพองตัวเนื่องจากการดูดซับน�้า
                 ดูดซับน�้า (Water Absorption) และค่าความหนาแน่นซึ่ง  และการพองตัวเนื่องจากความเค้นในตัวของบอร์ดหรือ
                 คงที่ 650 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร จาก Table 6 และ   อาจเป็นไปได้ว่าการพองตัวทางด้านความหนาของแผ่น
                 Figure 6 จะเห็นว่า แผ่นชิ้นไม้อัดที่เติมผงถ่านไม้ไผ่ที่  ชิ้นไม้อัดที่เติมผงถ่านไม้ไผ่ได้รับอิทธิพลส่วนใหญ่มา
                 ร้อยละ 15  มีค่าการพองตัวด้านความหนาอยู่ที่ร้อยละ   จากความเค้นภายในตัวบอร์ดซึ่งการเติมผงถ่านไม้ไผ่
                 4.23 – 5.69 และการดูดซับน�้าอยู่ที่ร้อยละ 10.52- 12.86   ลงไปในแผ่นชิ้นไม้อัดน่าจะลดความเค้นที่เกิดขึ้นใน

                 จะเห็นว่าการเติมผงถ่านไม้ไผ่ในแผ่นชิ้นไม้อัดสามารถ  บอร์ดโดยถ่านอาจจะยุบตัวท�าให้ช่องว่างในบอร์ดและ
                 ลดค่าการพองตัวด้านความหนาและค่าการดูดซับน�้า
                 ได้ประมาณร้อยละ 11.50 และ 1.88 ตามล�าดับ ซึ่งไม่มี  ความเค้นน้อยลงท�าให้ค่าการพองตัวทางด้านความหนา
                 ความแตกต่างทางสถิติกับการไม่เติมผงถ่านไม้ไผ่ อาจ  และการดูดซับน�้าน้อยลงไปด้วย
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103