Page 93 -
P. 93

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                         วารสารวนศาสตร 34 (1) : 87-100 (2558)                     91
                                                        ์



                 เช่น ความหนาและสภาวะต่างๆ ในการผลิต ส่วนค่าการ  ถ่านก็ลดลง ถึงแม้ว่าจะไม่ผ่านมาตรฐานของญี่ปุ่นระดับ
                 ดูดซับน�้าและการพองตัวด้านความหนาจะเพิ่มขึ้นจาก  F**** ที่จะต้องมีปริมาณสารระเหยฟอร์มัลดีไฮด์ใน
                 การเติมแกลบและผงถ่านในแผ่นชิ้นไม้อัดอาจ เนื่อง  แผ่นชิ้นไม้อัด 0.3 มิลลิกรัมต่อลิตรหรือ 0.04 มิลลิกรัม
                 มาจากแกลบ และถ่านท�าให้มีช่องว่างในการดูดซับน�้า  ต่อลูกบาศก์เมตร ตามวิธีใช้โถดูดความชื้น (Desiccator)
                 ในแผ่นชิ้นไม้อัดมากขึ้น ส่วนปริมาณการปลดปล่อยสาร  และใช้ตู้ปรับสภาวะขนาดเล็ก (Small Chamber) ก็ตาม

                 ระเหยฟอร์มัลดีไฮด์จากการเติมแทนนิน แกลบและผง  (Sundman et al., 2007)

                 Table 3  Collected data for particleboard with various additives (Eom et al., 2006).

                                                                Properties 2,3
                         Type             MOR         MOE           IB          TS           WA
                                         (MPa)        (GPa)       (MPa)         (%)         (%)
                 No Treatment             6.86       not report    1.27          14          35
                 Tannin Added             8.62       not report    1.66          52          36
                 Rice Husk Added          6.66       not report    1.56          42          41
                 Wood Charcoal Added      6.27       not report    1.56          79          56
                 Experiment 1             8.17         1.16        0.54         4.91        11.37
                          1
                 Remarks:    Density = 0.67 g/cm 3
                           2  MOR = Modulus of Rupture, MOE = Modulus of Elasticity, IB = Internal Bond Strength,
                            TS = Thickness Swelling, WA = Water Absorption
                          3  Average values

                 Table 4  Collected data for particleboard with various additives (Eom et al., 2006).

                                                       Properties 1

                        Type            Desiccator      Small chamber       Flask        Souce
                                         method            method          method
                                                                2
                                         (mg/l)           (mg/m h)         (mg/kg)
                 No Treatment             0.95              0.043             -     Eom et al., 2006
                 Tannin Added             0.84              0.037             -     Eom et al., 2006
                 Rice Husk Added          0.65              0.038             -     Eom et al., 2006
                 Charcoal Added           0.38              0.037             -     Eom et al., 2006
                 Charcoal Added             -                 -             2.46    Experiment

                         1
                 Remark:   Average values
                        การลดปริมาณสารระเหยฟอร์มัลดีไฮด์ที่ท�าได้  การดูดซับ เนื่องจากมีรูพรุน จ�านวนมากจึงเหมาะในการ

                 ง่ายและไม่ซับซ้อนมากนัก คือ การเติมตัวดักจับในสูตร  ท�าเป็นตัวดูดซับหรือตัวดักจับฟอร์มัลดีไฮด์ ดังนั้นการ
                 กาว ซึ่งในปัจจุบันมีความพยายามในการเติมตัวดักจับ  วิจัยนี้เพื่อหาความเป็นไปได้ในการลดการปลดปล่อย
                 ชีวภาพ (Bio-Scavenger) เช่น แกลบ แทนนิน และถ่าน   สารระเหยฟอร์มัลดีไฮด์ของแผ่นชิ้นไม้อัดโดยการผสม

                 เพื่อช่วยดูดซับหรือย่อยสลายฟอร์มัลดีไฮด์โดยในการ  ผงถ่านไม้ไผ่ในกระบวนการผลิตโดยการหาสัดส่วนที่
                 วิจัยนี้จะใช้ถ่านที่ท�าจากไม้ไผ่ซึ่งมีคุณสมบัติเด่นด้าน  เหมาะสมในเติมผงถ่านไม้ไผ่ในแผ่นชิ้นไม้อัด
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98