Page 92 -
P. 92
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
90 Thai J. For. 34 (1) : 87-100 (2015)
Figure 1 Frequency of pores per area of wood charcoal of different plant species (Howe-Grant,
Figure 2 Frequency of pores per area of wood charcoal of different plant species (Howe-Grant, 1992).
1992).
ปัจจุบันในตลาดมีกาวที่มีส่วนผสมของฟอร์มัล ก่อนท�าการอัดร้อน เพื่อใช้เป็นสารดูดซับสารระเหยใน
ดีไฮด์อยู่ 3 ชนิดหลักๆคือ ยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ ฟีนอล ระหว่างอัดร้อนตามลักษณะเด่นของผงถ่านไม้ไผ่มี
ฟอร์มัลดีไฮด์และเมลามีนยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ ซึ่งในการ รูพรุนมาก (รายละเอียดตาม Table 2) จากการทดลองของ
ลดปริมาณสารระเหยฟอร์มัลดีไฮด์นั้นอาจผสมกับตัว Eom et al. (2006) ดังแสดงใน Table 3 และ 4 จะเห็น
ดักจับ (Scavenger) ในกาวสังเคราะห์โดยตรงเพื่อลด ว่าการเติมสารพวกถ่าน แกลบและแทนนินสามารถที่
ปริมาณสารระเหย ตัวดักจับที่นิยมใช้มี 2 ตัวคือ เมลามีน จะลดปริมาณสารฟอร์มัลดีไฮด์ที่อยู่ในแผ่นชิ้นไม้อัด
และเฮกซามีน ยังมีอีกประเภทหนึ่งที่ใช้หลังจากอัด ได้ซึ่งแทนนินจะลดปริมาณฟอร์มัลดีไฮด์โดยใช้แรงยึด
เป็นแผ่นไม้ประกอบแล้วคือ สารประกอบแอมโมเนีย เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของแทนนินและกาวท�าให้ ปริมาณ
ตัวดักจับเหล่านี้สามารถลดสารระเหยฟอร์มัลดีไฮด์ ฟอร์มัลดีไฮด์ที่จะระเหยลดลง ขณะที่แกลบและถ่าน
ได้ประมาณ 2 - 10 เท่า แต่อย่างไรก็ตามยังไม่มีผลการ ซึ่งมีพื้นที่ผิวมากท�าให้มีการยึดเหนี่ยวกับสารระเหย
ยืนยันแน่นอนว่า การใช้ตัวดักจับเป็นการลดการระเหย ฟอร์มัลดีไฮด์ได้มาก การยึดเหนี่ยวในลักษณะนี้อาจจะ
หรือเป็นแค่การชะลอเวลาการระเหยเท่านั้น (Healthy มีผลท�าให้ค่าการต้านแรงดัดและพันธะการยึดเหนี่ยว
Building Network, 2008) ภายในแผ่นชิ้นไม้อัดลดลง อย่างไรก็ตาม จาก Table 3
และ 4 จะเห็นได้ว่าการเติมแกลบและถ่านท�าให้ค่าการ
Figure 3 Schematic diagrams of adhesion between rice husk, charcoal and tannin with UF adhesive (Kim et al., 2006).
สารเคมีที่มีผลต่อการลดปริมาณฟอร์มัลดีไฮด์
ในแผ่นชิ้นไม้อัด อาจมาได้ 4 แหล่งคือ กาวสังเคราะห์ ยึดติดภายในเพิ่มขึ้นเป็น 1.6 เมกะพาสคาล และค่าการ
สารเติมก่อนท�าการอัดร้อนทั้งเติมในกาวหรือผสมกับ ต้านแรงดัดลดลงเป็น 6.7 และ 6.3 เมกะพาสคาลทั้งการ
ชิ้นไม้ สารเติมหลังจากอัดร้อน และสารที่มีอยู่ในเนื้อไม้ เติมแกลบและผงถ่าน ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากอิทธิพลของ
(Roffael, 2008) ซึ่งการเติมผงถ่านไม้ไผ่นี้เป็นการเติม ความแปรปรวนด้านวัตถุดิบในการผลิตแผ่นชิ้นไม้อัด