Page 104 -
P. 104

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 102                      Thai J. For. 34 (1) : 101-111 (2015)



                 forest utilization and mangrove forest conservation information received. Hence, the related
                 agencies should arrange relevant training courses to provide the knowledge and to encourage the
                 targeted group to be conscious of mangrove forest conservation in order to raise their awareness
                 of mangrove forest values.

                 Keywords:  participation, conservation, mangrove forest


                                                      บทคัดย่อ


                        ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ข้อมูลทั่วไป ระดับการมีส่วนร่วม
                 และปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ป่าชายเลนของชุมชนต�าบลเขาถ่าน อ�าเภอท่าฉาง จังหวัด

                 สุราษฎร์ธานี โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล จ�านวน 258 ครัวเรือน น�าข้อมูลวิเคราะห์หาค่าทางสถิติ
                 เช่น ค่าความถี่  ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย  ค่าต�่าสุด  ค่าสูงสุด และทดสอบสมมติฐาน โดยใช้สถิติที (t-test) และสถิติเอฟ
                 (F-test) ก�าหนดระดับนัยส�าคัญทางสถิติที่ 0.05
                        จากการศึกษาพบว่า ประชาชนกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 53.49 มีอายุเฉลี่ย 45.24 ปี  ส�าเร็จ
                 การศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 35.27 เกิดที่ต�าบลเขาถ่านร้อยละ 72.09 มีระยะเวลาในการตั้งถิ่นฐานเฉลี่ย 36.84 ปี

                 มีจ�านวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.60 คน อาชีพหลักประกอบอาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ 42.64 มีอาชีพรอง ร้อยละ
                 74.03 มีพื้นที่ถือครองเฉลี่ย 14.10 ไร่ มีการเข้าใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่าชายเลน ร้อยละ 50 มีรายได้ทั้งหมดเฉลี่ย
                 244,798.45 บาทต่อปี มีรายได้ที่เกิดจากการใช้ประโยชน์จากป่าชายเลนเฉลี่ย 27,044.57 บาทต่อปี มีรายจ่ายเฉลี่ย
                 151,298.45 บาทต่อปี เป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคม ร้อยละ 68.60 ได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าชายเลน
                 ร้อยละ 98.45 ไม่เคยได้รับการฝึกอบรมความรู้เกี่ยวกับการทรัพยากรป่าชายเลน ร้อยละ 77.91 มีความรู้เกี่ยวกับการ

                 อนุรักษ์ป่าชายเลน ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 77.13 และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ป่าชายเลน อยู่ในระดับปานกลาง
                 ค่าเฉลี่ย 3.18 ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ป่าชายเลน ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลา
                 ในการตั้งถิ่นฐาน จ�านวนสมาชิกในครัวเรือน อาชีพรอง รายได้ที่เกิดจากการใช้ประโยชน์จากป่าชายเลน และการได้รับข้อมูล
                 ข่าวสารเกี่ยวกับป่าชายเลน ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจัดฝึกอบรมเพื่อให้ความรู้ และสร้างจิตส�านึกในการอนุรักษ์
                 ป่าชายเลน ประชาชนจะได้ตระหนักเห็นคุณค่าของป่าชายเลน


                 ค�าส�าคัญ: การมีส่วนร่วม การอนุรักษ์ ป่าชายเลน

                                 ค�าน�า                      ช่วงปี 2526 - 2535 เริ่มมีกลุ่มนายทุนและชาวบ้านหัน

                        พื้นที่ป่าชายเลนต�าบลเขาถ่าน เป็นส่วนหนึ่ง  มาเลี้ยงกุ้งกุลาด�าในพื้นที่และได้มีการขยายพื้นที่เพิ่ม
                 ของป่าเลนน�้าเค็มท่าฉาง ป่าสงวนแห่งชาติตามกฎ  มากขึ้น ผนวกกับโครงการพัฒนาฐานการผลิตอาหาร

                 กระทรวง ฉบับที่ 98 (พ.ศ. 2508) มีพื้นที่จ�านวน 3,542.28   ทะเลของประเทศ หรือซีฟู้ดแบงก์ (sea food bank)
                 ไร่ (Office Of  Marine And Coastal Resources   ตามนโยบายแปลงสินทรัพย์เป็นทุนที่เกิดขึ้นภายใต้
                 Conservation, 2012) เป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งของอ่าวบ้านดอน  การสนับสนุนของรัฐบาล เริ่มมีแผนด�าเนินการเมื่อปี
                 ซึ่งอุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลและ  พ.ศ. 2547 ท�าให้เกิดปัญหาการบุกรุกพื้นที่ป่าชายเลน
                 ชายฝั่ง เนื่องจากมีแม่น�้าหลายสายไหลลงสู่อ่าวบ้านดอน   การจับจองพื้นที่เพื่อท�าคอกหอยแครง เลี้ยงหอยแมงภู่
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109