Page 62 -
P. 62

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 60                        Thai J. For. 34 (1) : 57-64 (2015)




                 ของต้นไม้  โดยใช้ allometric relation และเลือกสมการ  ทาง DBH  0.64 เซนติเมตร/ปี  ซึ่งใกล้เคียงกับไม้เสม็ด
                 ความสัมพันธ์ระหว่าง DBH และ H กับมวลชีวภาพของ  ขาวที่ประเทศเวียดนาม (Thien, 1997) และที่ประเทศ
                 ล�าต้น กิ่ง และมวลชีวภาพเหนือพื้นดินที่มีความสัมพันธ์  มาเลเซีย (Sandrasegaran, 1966) มีอัตราความเพิ่มพูน
                                                      2
                 ดีที่สุด โดยพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์ของตัวก�าหนด (R )    ทาง DBH  0.6-0.7 เซนติเมตร/ปี และมีขนาด DBH
                 และวิเคราะห์การเติบโตและมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน  มากกว่าไม้เสม็ดขาวในจังหวัดตราด ต�าบลเขาสมิง
                 ระหว่างสองพื้นที่ศึกษา ด้วย T-test  โดยใช้โปรแกรม  อ�าเภอเขาสมิง และต�าบลวังกระแจะ อ�าเภอเมือง ที่เป็น
                 ส�าเร็จรูปทางสถิติ                          พื้นที่น�้าท่วมขังประมาณ 6-8 เดือนในรอบปี มีค่า DBH

                            ผลและวิจารณ์                     เฉลี่ย 12.6 เซนติเมตร (Pholpoke, 2001)
                                                                     ไม้เสม็ดขาวที่ปลูกในพื้นที่มีน�้าท่วมขัง 7-9

                 ความหนาแน่นและการเติบโต                     เดือนในรอบปีมีความสูงทั้งหมดเฉลี่ย  14.66 เมตร
                        ความหนาแน่นของไม้เสม็ดขาวที่ปลูกใน   น้อยกว่าไม้เสม็ดขาวที่ปลูกในพื้นที่ที่มีน�้าท่วมขังตลอด
                 พื้นที่สวนป่าท่ากุ่มโนโบรุ อุเมดะ จังหวัดตราด พบว่า   ทั้งปีที่มีความสูงทั้งหมดเฉลี่ย  15.19 เมตร และพบว่า
                 ไม้เสม็ดขาวอายุ 29 ปี ที่ปลูกในพื้นที่ที่มีน�้าท่วมขัง 7-9   ไม้เสม็ดขาวที่ปลูกในทั้งสองพื้นที่ท�าการศึกษา มีความสูง
                 เดือนในรอบปี มีความหนาแน่นเฉลี่ย  90.67 ต้น/ไร่ ซึ่ง  ทั้งหมดเฉลี่ย  14.92 เมตร  (Table 1) หรือมีอัตราความ

                 น้อยกว่าไม้เสม็ดขาวที่ปลูกในพื้นที่ที่มีน�้าท่วมขังตลอด  เพิ่มพูนทางความสูงทั้งหมด 0.51 เมตร/ปี ซึ่งมีค่าน้อยกว่า
                 ทั้งปีที่มีความหนาแน่นเฉลี่ย  150.33 ต้น/ไร่ และพบว่า   ไม้เสม็ดขาวที่ประเทศเวียดนาม มีอัตราความเพิ่มพูนทาง
                 ความหนาแน่นของไม้เสม็ดขาวที่ปลูกทั้งสองพื้นที่มีค่า  ความสูงทั้งหมด 0.7-1.0 เมตร/ปี (Thien, 1997) ทั้งนี้อาจ
                 เฉลี่ย  120.5 ต้น/ไร่ หรือ 753.13 ต้น/เฮกแตร์  (Table 1)   เนื่องมาจากปัจจัยแวดล้อมที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ หรือ
                 ซึ่งมีค่าน้อยกว่าไม้เสม็ดขาว อายุ 13 ปี ที่ปลูกในจังหวัด  อีกส่วนหนึ่งอาจเกิดจากพื้นที่ที่ท�าการศึกษาขาดการดูแล
                 นราธิวาส ด้วยระยะปลูก 2×2 เมตร มีความหนาแน่น    รักษาที่ดี แต่มากกว่าไม้เสม็ดขาวในจังหวัดตราด ต�าบล
                 248 ต้น/ไร่ (Nuyim, 2001) ทั้งนี้อาจเป็นเพราะระยะปลูก  เขาสมิง อ�าเภอเขาสมิง และต�าบลวังกระแจะ อ�าเภอเมือง
                 ที่แตกต่างกัน โดยไม้เสม็ดขาวที่ท�าการศึกษา ปลูกด้วย  ที่เป็นพื้นที่น�้าท่วมขังประมาณ 6-8 เดือนในรอบปี พบ
                 ระยะปลูก 2×4 เมตร จึงอาจส่งผลให้ความหนาแน่นต่อ  ว่ามีความสูงทั้งหมดเฉลี่ย 13.31 เมตร (Pholpoke, 2001)
                 พื้นที่น้อยกว่า อีกทั้งยังมีค่าน้อยกว่าไม้เสม็ดขาวในป่า     เมื่อท�าการวิเคราะห์ความแตกต่างทางสถิติ
                 ธรรมชาติ ต�าบลเขาสมิง อ�าเภอเขาสมิง และต�าบล  ระหว่างพื้นที่ที่มีน�้าท่วมขัง 7-9 เดือนในรอบปีกับพื้นที่ที่มี
                 วังกระแจะ อ�าเภอเมือง จังหวัดตราดที่เป็นพื้นที่น�้าท่วมขัง  น�้าท่วมขังตลอดทั้งปี พบว่า ทั้งขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
                 ประมาณ 6-8 เดือนในรอบปี พบว่ามีความหนาแน่น   เพียงอก และความสูงทั้งหมดของทั้งสองพื้นที่ มีความ

                 267 ต้น/ไร่ (Pholpoke, 2001) ซึ่งจะเห็นได้ว่าถึงแม้จะ  แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยส�าคัญทางสถิติ (Table 1)  ทั้งนี้
                 เป็นพื้นที่ที่ใกล้เคียงกัน แต่มีความหนาแน่นของต้นไม้  อาจเป็นเพราะระยะเวลาของน�้าท่วมขังที่ต่างกันเพียง
                 แตกต่างกันมาก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะการขาดการดูแล  3-5 เดือน ไม่มีอิทธิพลมากพอที่จะท�าให้ขนาดเส้นผ่าน
                 รักษาของพื้นที่ที่ท�าการศึกษา และการลักลอบตัดไม้  ศูนย์กลางเพียงอก และความสูงทั้งหมดของไม้เสม็ด
                        ไม้เสม็ดขาวที่ปลูกในพื้นที่มีน�้าท่วมขัง 7-9   ขาวทั้งสองพื้นที่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ
                 เดือนในรอบปีมีขนาด DBH เฉลี่ย  18.91 เซนติเมตร ซึ่ง  ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ Nuyim (2005)  ซึ่ง
                 มากกว่าไม้เสม็ดขาวที่ปลูกในพื้นที่ที่มีน�้าท่วมขังตลอด  ท�าการศึกษาการขังน�้าในระดับที่สูงไม่เกิน 10 เซนติเมตร
                 ทั้งปีที่มีขนาด DBH เฉลี่ย  18.41 เซนติเมตร  และพบว่า   จากผิวดินนาน 18 เดือน จากการเริ่มปลูกกล้าไม้เสม็ดขาว
                 DBH ของไม้เสม็ดขาวที่ปลูกในทั้งสองพื้นที่มีค่าเฉลี่ย    พบว่าความโต และความสูงแตกต่างกันอย่างไม่มี
                 18.66 เซนติเมตร  (Table 1) หรือมีอัตราความเพิ่มพูน  นัยส�าคัญทางสถิติ
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67