Page 60 -
P. 60

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 58                        Thai J. For. 34 (1) : 57-64 (2015)



                                                      บทคัดย่อ


                        การเติบโตและมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของไม้เสม็ดขาว  อายุ 29 ปี ที่ปลูกในสวนป่าท่ากุ่มโนโบรุ อุเมดะ
                 จังหวัดตราด ได้ท�าการศึกษาใน 2 พื้นที่ คือ พื้นที่ที่มีน�้าท่วมขัง 7-9 เดือนในรอบปี และพื้นที่ที่มีน�้าท่วมขังตลอดทั้งปี
                 โดยในแต่ละพื้นที่ท�าการวางแปลงตัวอย่างแบบสุ่มอย่างสมบูรณ์ ขนาดแปลง 40×40 เมตร จ�านวน 3 แปลง  ท�าการวัด
                 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (DBH) และความสูงทั้งหมด (H) ของไม้เสม็ดขาวทุกต้นในแปลง  เพื่อสร้างสมการ
                 มวลชีวภาพในรูปของ allometric relation โดยวิธีการตัดฟันไม้และเปรียบเทียบการเติบโตและปริมาณมวลชีวภาพของ

                 ล�าต้น (Ws) กิ่ง (Wb) ใบ (Wl) และมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน (Wa) ของไม้เสม็ดขาวที่ปลูกในสองพื้นที่ ผลการศึกษา
                 พบว่าไม้เสม็ดขาวที่ปลูกในพื้นที่ที่มีน�้าท่วมขัง 7-9 เดือนในรอบปีและพื้นที่ที่มีน�้าท่วมขังตลอดทั้งปี มีความหนาแน่นเฉลี่ย
                 90.67 และ 150.33 ต้น/ไร่ มีค่า DBH  เฉลี่ย 18.91 และ 18.41 เซนติเมตร และมีค่า H เฉลี่ย 14.66  และ 15.19 เมตร
                 ตามล�าดับ ไม้เสม็ดขาวในพื้นที่ที่มีน�้าท่วมขัง 7-9 เดือนในรอบปีและในพื้นที่ที่มีน�้าท่วมขังตลอดทั้งปีมีค่า Ws Wb
                 Wl และ Wa เฉลี่ย  11,762.81  2,696.07  289.23  15,327.93  19,110.36  4,231.28  458.03 และ 24,898.67 กิโลกรัม/ไร่
                 ตามล�าดับ และพบว่า อิทธิผลจากน�้าท่วมขังในสองพื้นที่ที่มีระยะเวลาต่างกันเพียง 3-5 เดือน ไม่เพียงพอที่จะท�าให้
                 ความหนาแน่น การเติบโต และปริมาณผลผลิตมวลชีวภาพของไม้เสม็ดขาวแตกต่างกันทางสถิติ


                 ค�าส�าคัญ: การเติบโต  มวลชีวภาพเหนือพื้นดิน  เสม็ดขาว

                                  ค�าน�า                     ผลผลิตที่ไม่คุ้มค่า แต่เป็นพื้นที่ที่ไม้เสม็ดขาวสามารถ

                        ในปัจจุบันทรัพยากรธรรมชาติของประเทศได้  เติบโตได้ดีมาก จึงนับได้ว่าเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพสูงใน
                 ถูกน�ามาใช้อย่างไม่มีขีดจ�ากัดและหมดลงอย่างรวดเร็ว   การที่จะให้ประชาชนและหน่วยงานของรัฐเลือกปลูกไม้
                 ทั้งนี้เพื่อตอบสนองความต้องการของประชากรที่เพิ่มขึ้น   เสม็ดขาวเพื่อการอนุรักษ์และยังสามารถพัฒนาเป็นพื้นที่
                 โดยเฉพาะทรัพยากรป่าไม้ที่นับวันจะถูกท�าลายมาก  สวนป่าเศรษฐกิจต่อไป เพราะนอกจากเนื้อไม้ที่สามารถ
                 ยิ่งขึ้น ดังนั้นจึงมีความจ�าเป็นเร่งด่วนที่ต้องมีการ  น�ามาใช้ในการก่อสร้าง ท�ารั้วบ้าน นั่งร้าน เสาเข็ม ท�าฟืน
                 ปลูกป่าเพื่อทดแทนป่าไม้ที่เสียไป ซึ่งอาจท�าได้โดย  เผาถ่าน แผ่นไม้อัดซีเมนต์ และแกะสลักได้อย่างดี ยัง
                 การปลูกสร้างสวนป่า ด้วยการปลูกทั้งแบบสวนป่า  สามารถน�าเปลือกมาท�าฝาบ้าน มุงหลังคา อุดรูรั่วของ

                 เศรษฐกิจและการปลูกเพื่อการอนุรักษ์ เพื่อให้สามารถ  เรือ ยัดฟูก หมอน ใช้ย้อมแห ท�าขี้ไต้จุดไฟ (Nuyim,
                 ตอบสนองอย่างเพียงพอและทันต่อความต้องการทั้ง  2001) และน�าใบมาสกัดเอาน�้ามันเขียว (cajuput oil) เพื่อ
                 ทางด้านการอนุรักษ์และการน�าไม้มาใช้ประโยชน์   ใช้ไล่แมลง และฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ที่ท�าให้เกิดสิวได้ดี อีก
                        ไม้เสม็ดขาวเป็นไม้โตเร็วอีกชนิดหนึ่งที่สามารถ  ทั้งยังสามารถน�าใบมาต้มเพื่อใช้ดื่มแทนน�้าชาและเพื่อ
                 เติบโตได้ดีในดินหลายสภาพ กล่าวคือทั้งในสภาวะที่ดิน  ช่วยรักษาโรคปวดเมื่อย ดีซ่าน โรคหอบ ถ่ายพยาธิ และ
                 มีความเป็นกรดจัด ดินเค็ม ดินมีสภาพน�้าท่วม และแห้งแล้ง   แก้ไอได้อีกด้วย (Oyen and Dung, 1999) ซึ่งนับว่าเป็น
                 โดยเฉพาะในพื้นที่ลุ่มมีน�้าขังตามขอบพรุจะสามารถ  ไม้ที่สามารถน�ามาใช้ประโยชน์ได้เกือบทุกส่วนของต้น

                 เติบโตได้ดีมาก ซึ่งจากการส�ารวจในประเทศไทย พบว่า     อย่างไรก็ดี ในปัจจุบันการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ
                 พื้นที่ลุ่มมีน�้าขังตามขอบพรุนี้มีกระจายอยู่ทั่วไป เนื้อที่  ไม้เสม็ดขาวนับว่ายังมีน้อยอยู่มาก ทั้งด้านการเติบโต
                 รวมกัน 347,019.46 ไร่ (Chukwamdee et al., 1999) ซึ่ง  ผลผลิต คุณภาพของเนื้อไม้ และการน�าไปใช้ประโยชน์
                 สภาพพื้นที่เหล่านี้ในปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นพื้นที่รกร้าง  โดยเฉพาะไม้เสม็ดขาวในสวนป่าที่มีอายุมาก  ดังนั้น
                 ว่างเปล่าที่พืชเกษตรและไม้ป่าชนิดอื่นเติบโตได้ไม่ดี ให้  จึงมีความจ�าเป็นที่จะต้องมีการศึกษาวิจัยในเรื่องที่
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65