Page 61 -
P. 61
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 34 (1) : 57-64 (2558) 59
์
เกี่ยวข้องดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาเกี่ยวกับ 2. น�าค่า DBH ของไม้เสม็ดขาว มาแจกแจง
การเติบโตและผลผลิตมวลชีวภาพของไม้เสม็ดขาว ตารางความถี่จ�านวน 5 อันตรภาคชั้น แล้วหาขนาดของ
ซึ่งมีประโยชน์อย่างยิ่งในการประมาณผลผลิต รวมถึง DBH เฉลี่ยในแต่ละอันตราภาคชั้นเป็นต้นไม้ตัวอย่าง
รายได้จากการปลูกสร้างสวนป่าที่จะได้รับเมื่อครบรอบ ที่จะท�าการตัดฟันไม้เพื่อศึกษาหามวลชีวภาพและ
อายุตัดฟัน เพื่อใช้เป็นข้อมูลเชิงวิชาการในการส่งเสริม ปริมาตรไม้ จ�านวนไม้ตัวอย่างควรมีไม่น้อยกว่า 3 ต้น
การปลูกสร้างสวนป่าไม้เสม็ดขาวในเชิงอนุรักษ์และเชิง เพื่อสามารถน�าไปวิเคราะห์หาสมการทดถอยได้อย่างมี
เศรษฐกิจต่อไป ดังนั้น การศึกษาครั้งนี้ จึงมีวัตถุประสงค์ ประสิทธิภาพ จ�านวนตัวอย่างไม้ยิ่งมากยิ่งท�าให้การน�า
เพื่อศึกษาการเติบโตและมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของ ไปวิเคราะห์หารูปแบบสมการที่เหมาะสมมีความ
ไม้เสม็ดขาวที่ปลูกในสวนป่าท่ากุ่ม โนโบรุ อุเมดะ ถูกต้องมากยิ่งขึ้น ในการศึกษาครั้งนี้ท�าการตัดไม้ตัวอย่าง
จังหวัดตราดและเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการสวน จ�านวน 6 ต้น
ป่าไม้เสม็ดขาวต่อไป 3. ท�าการตัดไม้ตัวอย่างที่ระดับชิดดิน บันทึก
ขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับชิดดิน (D0) ที่ระดับ
อุปกรณ์และวิธีการ 30 เซนติเมตร (D30) ที่ระดับความสูงเพียงอก 1.30 เมตร
พื้นที่และแปลงวิจัย (DBH) และทุกๆ ระยะ 1 เมตร จากระดับความสูงเพียงอก
พื้นที่ศึกษาเป็นสวนป่าเสม็ดขาวในสวนป่า เป็นต้นไป และท�าการหมายสัญลักษณ์ตามจุดต่างๆ ที่
ท่ากุ่มโนโบรุ อุเมดะ แปลงปู่หลวง ปลูกปี พ.ศ.2526 ของ วัดขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลาง บันทึกความสูงจากโคน
องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ ถึงปลายยอดสุดของไม้ตัวอย่างแต่ละต้น
และสิ่งแวดล้อม โดยมีระยะปลูก 2x4 เมตร รวมเนื้อที่ 4. ท�าการตัดทอนไม้ตัวอย่างตามระยะที่หมาย
ทั้งหมด 2,103.125 ไร่ ตั้งอยู่ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ไว้เป็นท่อนๆ
ป่าเสม็ด ต�าบลวังกระแจะ อ�าเภอเมือง จังหวัดตราด ซึ่ง 5. น�าไม้ตัวอย่างแต่ละท่อนมาท�าการแยก
สามารถแบ่งลักษณะพื้นที่ได้เป็น 2 ลักษณะ คือ พื้นที่ ส่วนของล�าต้น กิ่ง และใบ แล้วน�าแต่ละส่วนไปชั่งน�้าหนัก
ที่มีน�้าท่วมขัง 7-9 เดือนในรอบปี มีเนื้อที่ประมาณ 1,000 บันทึกค่าของแต่ละส่วนเอาไว้ ท�าไปเรื่อยๆ จนหมด
ไร่ และพื้นที่ที่มีน�้าท่วมขังตลอดทั้งปี มีเนื้อที่ประมาณ ทุกท่อน
1,000 ไร่ ซึ่งในพื้นที่นี้ไม่มีการดูแลรักษาใดๆ และยังไม่เคย 6. สุ่มเก็บตัวอย่างโดยสุ่มเก็บแยกเป็นส่วน
ผ่านการตัดขยายระยะมาก่อน แต่มีการลักลอบตัดไม้ใน ล�าต้น กิ่ง และใบ ของไม้ตัวอย่างแต่ละต้น ชั่งน�้าหนัก
พื้นที่ อุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด 31.3 องศาเซลเซียส อุณหภูมิ สดตัวอย่างแต่ละส่วน และบันทึกข้อมูล
เฉลี่ยต�่าสุด 23.2 องศาเซลเซียส มีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย 7. น�าตัวอย่างส่วนต่างๆ ของไม้แต่ละต้นไป
80 เปอร์เซ็นต์ มีปริมาณน�้าฝนรวม 4,689.6 มิลลิเมตร/ปี อบในตู้อบที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 48
(Meteorological Department, 1998) โดยในแต่ละพื้นที่ ชั่วโมง หรือจนกว่าน�้าหนักแห้งของตัวอย่างนั้นคงที่
จะท�าการวางแปลงตัวอย่างขนาด 40x40 เมตร จ�านวน จากนั้นบันทึกค่าน�้าหนักแห้งของตัวอย่าง เพื่อน�าไป
3 แปลง โดยวางแปลงตัวอย่างแบบสุ่มอย่างสมบูรณ์ เปลี่ยนค่าน�้าหนักสดของต้นไม้ให้เป็นค่าน�้าหนักแห้ง
(Completely Randomized Design: CRD) หรือมวลชีวภาพ
การเก็บข้อมูลภาคสนาม การวิเคราะห์ข้อมูล
1. ท�าการวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก สมการเพื่อประมาณมวลชีวภาพส่วนต่างๆ ของ
(DBH) และความสูงทั้งหมด (H) ของไม้เสม็ดขาวทุกต้น ไม้เสม็ดขาว ได้จากการน�าข้อมูลน�้าหนักแห้งของส่วน
ในแปลงตัวอย่าง ต่างๆ ที่ค�านวณได้มาหาความสัมพันธ์กับ DBH และ H