Page 7 -
P. 7

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                          วารสารวนศาสตร 33 (1) : 1-10 (2557)                       5
                                                         ์


                 2. การวิเคราะห์สังคมพืช                     บันทึกข้อมูลของแต่ละตัวอย่างลงในซองบรรจุ น�า

                        สมศักดิ์ (2520) ลักษณะที่ใช้วิเคราะห์สังคม  ตัวอย่างมาวิเคราะห์ทางด้านอนุกรมวิธาน (หน่วยวิจัย
                 พืช ได้แก่ ค่าความหนาแน่น (density; D), ค่าความ  ไลเคน, 2555) ด้วยการศึกษาทางสัณฐานวิทยา และ
                 หนาแน่นสัมพัทธ์ของชนิดไม้ (relative density; RD)   กายวิภาควิทยา และศึกษาส่วนประกอบทางเคมีเบื้องต้น

                 ค่าความถี่ (frequency, F), ค่าความถี่สัมพัทธ์ของชนิดไม้   ด้วยการท�า spot test ตามวิธีการของ White and James
                 (relative frequency; RF), ค่าความเด่น (dominance; Do),   (1985)
                 ค่าความเด่นสัมพัทธ์ของชนิดไม้ (relative dominance;
                 RDo) และค่าความส�าคัญของชนิดพันธุ์ไม้ (importance       ผลและวิจารณ์

                 value index; IVI)                                   จากการส�ารวจสังคมพืชพบว่าสังคมพืชป่าดิบ
                            IVI = RF + RD + RDo              เขามีความหลากหลายของชนิดพรรณไม้ 37 ชนิด 21

                                                             วงศ์  มีพันธุ์ไม้ที่มีค่าดัชนีความส�าคัญของพรรณไม้สูงสุด
                 3. การศึกษาความหลากหลายและปริมาณของ         คือ ก่อพวง ก่อตลับ ก่อเดือย (ร้อยละ 33.08, 28.76 และ
                 ไลเคน                                       17.63 ตามล�าดับ) สังคมพืชป่าดิบแล้งมีความหลากหลาย

                        ท�าการเก็บตัวอย่างทั้งหมด 4 ป่า ได้แก่ ป่าดิบเขา   ของชนิดพรรณไม้ 42 ชนิด 26 วงศ์ มีพันธุ์ไม้ที่มีค่าดัชนี
                 ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง โดยสร้างแปลง  ความส�าคัญของพรรณไม้สูงสุดคือ ตะแบก ปอลาย
                 ตัวอย่างเป็นแปลงวงกลม แต่ละป่าท�าการสร้างแปลง   เปล้าใหญ่ และสาธร (ร้อยละ 26.27, 23.29, 21.42 และ

                 1 กลุ่มแปลงตัวอย่าง ใน 1 กลุ่มแปลงตัวอย่างประกอบ  20.55 ตามล�าดับ) สังคมพืชป่าเบญจพรรณมีความ
                 ด้วย 5 แปลงตัวอย่าง โดยเก็บตัวอย่างไลเคนตาม Line   หลากหลายของชนิดพรรณไม้ 40 ชนิด 21 วงศ์ มีพันธุ์ไม้
                 intersect ความยาว 17.84 เมตร จ�านวน 2 เส้น เส้นที่สอง  ที่มีค่าดัชนีความส�าคัญของพรรณไม้สูงสุดคือ ตะคร้อ
                 ให้วางตั้งฉากกันที่ผ่านเส้นตัดวงกลม เมื่อเก็บรวบรวม  สัก และไม้แดง (ร้อยละ 51.10, 42.95 และ 22.31 ตาม

                 ตัวอย่างไลเคนบนพรรณไม้ และบนหิน จากสภาพป่า  ล�าดับ) สังคมพืชป่าเต็งรังมีความหลากหลายของชนิด
                 ต่างๆ ที่ระดับความสูงไม่เกิน 3 เมตร จากพื้นดิน บันทึก  พรรณไม้ 16 ชนิด 11 วงศ์ มีพันธุ์ไม้ที่มีค่าดัชนีความ
                 รายละเอียดของการเก็บตัวอย่าง วันที่เก็บ สถานที่เก็บ   ส�าคัญของพรรณไม้สูงสุดคือเต็งและรัง (ร้อยละ 98.99
                 สภาพป่า จากนั้นน�าตัวอย่างมาผึ่งให้แห้งในที่อากาศ  และ 60.01 ตามล�าดับ) จะเห็นได้ว่าสังคมพืชป่าดิบแล้งมี

                 ถ่ายเทได้สะดวกบรรจุตัวอย่างในซองกระดาษ และ  ความหลากหลายของชนิดพรรณไม้มากที่สุด (Table 2)
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12