Page 4 -
P. 4
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2 Thai J. For. 33 (1) : 1-10 (2014)
genera and 22 families, and 38 species of lichen in 13 genera and 6 families. The dry deciduous
dipterocarp forest had 16 tree species in 18 genera and 11 families, and 34 species of lichen, 12
genera and 7 families. The dry evergreen forest had the most variety of tree species, where as the
mixed deciduous forest had the most lichens species.
Keywords: lichen, plant communities, Importance Value Index, National Park
บทคัดย่อ
การศึกษาชนิดและปริมาณไลเคนในสังคมพืชเขตอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ โดยการเก็บตัวอย่าง 4 ประเภทป่า
ได้แก่ ป่าดิบเขา ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ระยะเวลาศึกษา พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - มกราคม พ.ศ.
2556 เก็บรวบรวมตัวอย่างไลเคนบนเปลือกไม้และบนพื้นป่าได้จ�านวน 411 ตัวอย่าง น�ามาจ�าแนกชนิดไลเคนได้
76 ชนิด 30 สกุล 16 วงศ์ วงศ์ที่มีความหลากหลายชนิดมากที่สุด 5 วงศ์ได้แก่ Physciaceae, Graphidaceae, Parmeliaceae,
Trypetheliaceae และ Usneaceae คิดเป็นร้อยละ 27.63, 23.68, 14.47, 7.89 และ 6.58 ตามล�าดับ
การส�ารวจสังคมพืช พบว่าป่าดิบเขามีพันธุ์ไม้ที่มีค่าดัชนีความส�าคัญของพรรณไม้ (IVI) สูงสุดคือ ก่อพวง
ก่อตลับ ก่อเดือย (ร้อยละ 33.08, 28.76 และ 17.63 ตามล�าดับ) ป่าดิบแล้งมีพันธุ์ไม้ที่มีค่า IVI สูงสุดคือ ตะแบก
ปอลาย และเปล้าใหญ่ (ร้อยละ 26.27, 23.29 และ 21.42 ตามล�าดับ) ป่าเบญจพรรณมีพันธุ์ไม้ที่มีค่า IVI สูงสุดคือ
ตะคร้อ สัก และแดง (ร้อยละ 51.10, 42.95 และ 22.31 ตามล�าดับ) ป่าเต็งรังมีพันธุ์ไม้ที่มีค่า IVI สูงสุดคือเต็งและรัง
(ร้อยละ 98.99 และ 60.01 ตามล�าดับ)
จากผลการวิจัยพบว่า ป่าดิบเขามีความหลากหลายของพรรณไม้ 37 ชนิด 30 สกุล 21 วงศ์ มีความหลากหลาย
ของชนิดไลเคน 35 ชนิด 18 สกุล 9 วงศ์ ป่าดิบแล้งมีความหลากหลายของพรรณไม้ 42 ชนิด 40 สกุล 26 วงศ์ มี
ความหลากหลายของชนิดไลเคน 29 ชนิด 15 สกุล 12 วงศ์ ป่าเบญจพรรณมีความหลากหลายของพรรณไม้ 40 ชนิด
34 สกุล 21 วงศ์มีความหลากหลายของชนิดไลเคน 38 ชนิด 13 สกุล 6 วงศ์ และป่าเต็งรังมีความหลากหลายของพรรณไม้
16 ชนิด 18 สกุล 11 วงศ์ มีความหลากหลายของชนิดไลเคน 34 ชนิด 12 สกุล 7 วงศ์ สรุปได้ว่าสังคมพืชป่าดิบแล้ง
มีความหลากหลายของชนิดพรรณไม้มากที่สุดและป่าเบญจพรรณมีความหลากหลายของชนิดไลเคนมากที่สุด
ค�าส�าคัญ: ไลเคน สังคมพืช ค่าดัชนีความส�าคัญของพรรณไม้ อุทยานแห่งชาติแม่วงก์
ค�าน�า เบญจพรรณชื้น ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ทุ่งหญ้าหรือ
ไร่ร้าง และสิ่งก่อสร้าง เนื่องจากสภาพป่าไม้ที่หลาก
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ตั้งอยู่ในพื้นที่ป่า
แม่วงก์เป็นเขตรอยต่อระหว่างสองจังหวัดคือ จังหวัด หลายและมีความอุดมสมบูรณ์ จึงท�าให้มีสังคมพืชที่
นครสวรรค์และจังหวัดก�าแพงเพชร มีเนื้อที่ประมาณ สมบูรณ์ และสัตว์ป่านานาชนิด รวมไปถึงความหลาก
558,750 ไร่ หรือ 894 ตารางกิโลเมตร เป็นพื้นที่อนุรักษ์ หลายของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
ที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ สภาพภูมิประเทศเป็น ไลเคนเกิดขึ้นจากสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า รา (fungi)
เทือกเขาสูงสลับซับซ้อนเรียงรายกัน สภาพป่าไม้และ และสาหร่าย (algae) เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่เจริญเติบโต
การใช้ที่ดินในอุทยานแห่งชาติแม่วงก์สามารถแบ่งได้ ได้โดยขึ้นอยู่กับอิทธิพลของภูมิอากาศเป็นส�าคัญ
7 ประเภท คือ ป่าดิบเขา ป่าดิบแล้ง ป่าดิบแล้งผสมป่า อ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพอากาศ