Page 5 -
P. 5
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 33 (1) : 1-10 (2557) 3
์
เพราะไลเคนได้รับน�้าและธาตุอาหารจากอากาศใน คุณภาพของสิ่งแวดล้อมได้ เนื่องจากไลเคนมีความอ่อน
สภาพของฝน หมอก และน�้าค้าง ดังนั้นความแตกต่าง ไหวต่อการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพอากาศ จึงถูกใช้
ของสภาพป่าไม้ ลักษณะของสังคมพืชในพื้นที่อุทยาน เป็นดัชนีบ่งบอกคุณภาพอากาศ อย่างแพร่หลาย โดยไลเคน
แห่งชาติแม่วงก์จึงท�าให้มีสภาพแวดล้อมที่ส่งผลให้ ที่อ่อนไหวมาก คือ ฟรุติโคสและสแควมูโลส กลุ่มที่
ไลเคนแต่ละชนิดเติบโตแตกต่างกันออกไป อ่อนไหวปานกลาง คือ โฟลิโอส และกลุ่มทนทาน คือ
แม้ว่าการส�ารวจไลเคนและสังคมพืชในพื้นที่ ครัสโตส เป็นต้น
อุทยานแห่งชาติต่างๆ ได้มีการส�ารวจและศึกษากันอย่าง
แพร่หลาย อุทยานแห่งชาติแม่วงก์มีความหลากหลาย อุปกรณ์และวิธีการ
ทางธรรมชาติที่หลากหลาย มีลักษณะภูมิประเทศที่
สลับซับซ้อน จึงท�าให้ผู้วิจัยมีความตั้งใจศึกษาความ 1. การส�ารวจสังคมพืช
หลากหลายของไลเคน และลักษณะของสังคมพืช ท�าการเก็บตัวอย่างใน 4 ประเภทป่า ได้แก่
โดยก�าหนดวัตถุประสงค์เพื่อน�าตัวอย่างไลเคนที่เก็บ ป่าดิบเขา ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง แต่ละ
รวบรวมจากอุทยานแห่งชาติแม่วงก์มาศึกษาถึงชนิด ประเภทป่าท�าการสร้างแปลง 1 กลุ่มแปลงตัวอย่าง ใน
และปริมาณ พร้อมทั้งส�ารวจสังคมพืชที่เหมาะแก่การ 1 กลุ่มแปลงตัวอย่างประกอบด้วย 5 แปลงตัวอย่าง
เจริญเติบโตของไลเคน 1.1 การสร้างแปลงตัวอย่าง
การศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะคือ 1) สามารถ แปลงตัวอย่างอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม (cluster)
น�าข้อมูลที่ได้จากการท�าวิจัยมาเป็นฐานข้อมูลทรัพยากร ประกอบด้วยแปลงตัวอย่างวงกลมซ้อนทับกัน (concentric
ธรรมชาติและใช้ประโยชน์ในด้านการบริหารทรัพยากร circular sample plots) 5 แปลง วางในลักษณะกากบาท
ธรรมชาติของอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ต่อไปได้ และ (star shape) ที่ทิศเหนือ ตะวันออก ใต้ ตะวันตก และ
2) สามารถน�าข้อมูลชนิดไลเคนมาใช้ในการประเมิน แปลง ณ จุดศูนย์กลาง ดัง Figure 1 ดังนี้
Figure 1 Cluster plot including 5 sampling plots (arranged in star shape)
Figure 1 Cluster plot including 5 sampling plots (arranged in star shape)