Page 259 -
P. 259
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
248 Humanities Journal Vol.22 No.2 (July-December 2015)
อัปลักษณ์จริงหรือ? ความรู้ต่อเนื่อง คือ สี่ยอดหญิงอัปลักษณ์ในยุคเก่าของจีนมีใคร
บ้าง? เป็นต้น
ประเภทวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีของจีนโบรำณ อาทิ
ค าถามที่ 10 ช่วงศึกกัวต๋อ ท าไมโจโฉวิ่งเท้าเปล่าออกมารับเขาฮิว? ความรู้ต่อเนื่อง
คือ เวลาสวมรองเท้าหรือถอดรองเท้าคนโบราณพิถีพิถันเรื่องอะไร? ค าถามที่ 12 ท าไม
โจโฉจึงตัดผมแทนตัดหัว? ความรู้ต่อเนื่อง เหตุใดจึงกล่าวว่าในสมัยโบราณคนโกน
หัวคือนักโทษ? ค าถามที่ 29 เมื่อบังทองพบเล่าปี่ ไยบังทองจึงประสานมือค านับ ไม่
กราบคารวะ ความรู้ต่อเนื่องคือ เมื่อโจโฉไปเซ่นสรวงสุสานอ้วนเสี้ยวท าไมจึงไหว้
สองครั้ง? ค าถามที่ 78 “หม่านโส่ว” ที่ขงเบ้งคิดขึ้นคืออาหารชนิดใด? ความรู้ต่อเนื่อง
ั
คือ ท าไมแกงจืดผักฉุนไช่จึงเป็นอาหารอร่อยที่ปญญาชนแดนเจียงหนันชื่นชม
สูงสุด? เป็นต้น
ประเภทวิชำดูลักษณะคนและสัตว์ อาทิ ค าถามที่ 13 ท าไมเหล่าที่ปรึกษา
จึงเห็นว่าม้าเต๊กเลาของเล่าปี่ให้โทษแก่เจ้าของ ความรู้ต่อเนื่องคือ วิชาดูอาชาลักษณ์
ในสมัยโบราณมีเนื้อหาอย่างไร? ค าถามที่ 49 ท าไมประมุขยุคสามก๊กเลือกคนตาม
้
รูปลักษณ์ ความรู้ต่อเนื่องคือ ซุนกวนตาสีฟาหนวดสีม่วงจริงหรือ? เป็นต้น
ประเภทประวัติศำสตร์และกลอุบำยในกำรสงครำม อาทิ ค าถามที่ 28
ยุทธศาสตร์ที่หลงจง ขงเบ้งคิดขึ้นเป็นคนแรกหรือ? ความรู้ต่อเนื่องคือ จุดอ่อนร้ายแรง
ที่สุดของยุทธศาสตร์หลงจงคืออะไร? ค าถามที่ 37 โจโฉพ่ายศึกเซ็กเพ็กเพราะถูกโจมตี
ด้วยไฟจริงหรือ? ความรู้ต่อเนื่องคือ ท าไมเซ็กเพ็กจึงแยกเป็นเซ็กเพ็กบุ๋นและเซ็กเพ็กบู๊
ค าถามที่ 43 วุยก๊ก จ๊กก๊ก ง่อก๊ก แคว้นใดมีพื้นที่ใหญ่ที่สุด? ความรู้ต่อเนื่องคือ ท าไม
ค า “จิ่งโจว-เก้ามณฑล” จึงหมายถึงประเทศจีน? ค าถามที่ 47 ซุนกวนตั้งมั่นที่กังตั๋ง
(เจียงตง) กังตั๋งหมายถึงที่ใด? ความรู้ต่อเนื่องคือ ท าไมกังตั๋ง (เจียงตง) จึงมีอีกชื่อ
หนึ่งว่ากังจ้อ (เจียงจั่ว)? เป็นต้น
เห็นได้ว่า ความรู้เกี่ยวกับสามก๊กใน 101 ค ำถำมสำมก๊กนั้นมีความหลากหลาย
ในที่นี้ขอยกตัวอย่างค าถามต่างๆ 3 ค าถาม ซึ่งเห็นว่าเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านสามก๊ก
อีกทั้งยังมีความรู้ต่อเนื่องที่สามารถอธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสามก๊กได้อย่างชัดเจน
3 ค าถามนี้ คือ 1. ท าไมเหล่าที่ปรึกษาจึงเห็นว่าม้าเต๊กเลาของเล่าปี่ให้โทษแก่เจ้าของ