Page 93 -
P. 93

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


          82       Humanities Journal Vol.21, No.1 (January-June 2014)

                 เรื่อง “คนเลี้ยงโค”          เรื่อง “บุรุษกับนางยักษ์”
          ขณะเมื่อบุรุษนั้นปรารถนาจะไปให้พ้น ขณะเมื่อบุรุษปรารถนาจะหนีนางยักขินี

          จากภัยเขาจะจับนั้น เปรียบดุจพระ ไปนั้น เปรียบดุจพระโยคาวจรอันได้ซึ่ง
          โยคาวจรอันได้ซึ่งปุญจิตุกามยตาญาณ  ปุญจิตุกามยตาญาณ
             ั
          คือปญญาอันปรารถนาจะให้จากสังขาร
          ธรรม
          ขณะเมื่อบุรุษนั้นละโคเสียปรารภเพื่อจะ ขณะเมื่อบุรุษละเสียซึ่งนางยักขินีใน
                                          ่
          วิ่งหนีเอาตัวรอดนั้น เปรียบดุจพระ ปาช้าแล้ว แลบ่ายหน้าแล่นหนีไปนั้น
          โยคาวจรอันได้ซึ่งโคตรภูชวนะ    เปรียบดุจพระโยคาวจรอันได้ซึ่งโคตร
                                         ภูชวนะ
          ขณะเมื่อบุรุษนั้นวิ่งตะบึงไปให้พ้นภัย ขณะเมื่อบุรุษนั้นแล่นหนียักขินีไปด้วย
          นั้น เปรียบดุจพระโยคาวจรอันได้ซึ่ง เร็วพลัน เปรียบดุจพระโยคาวจรอันได้

          มัคคญาณ                        ซึ่งมัคคญาณ
          ขณะเมื่อบุรุษนั้นไปยืนอยู่ในที่ไกลพ้น ขณะเมื่อบุรุษนั้นหนีไปอยู่ในที่พ้นนาง
          ภัยนั้น เปรียบดุจพระโยคาวจรอันได้ซึ่ง ยักขินี จะติดตามมิได้นั้นเปรียบเหมือน
          ผลญาณ                          พระโยคาวจรอันได้ซึ่งผลญาณ

                   จะเห็นได้ว่าแม้ค าอธิบายของนิทานซ้อนทั้ง 2 เรื่องจะใช้องค์ประกอบ

          จากนิทานมาเปรียบเทียบต่างกัน แต่ข้อธรรมที่อธิบายนั้นเป็นเรื่องเดียวกัน
          ข้อความเปรียบเทียบก็มีลักษณะคล้ายคลึงกัน มีล าดับแนวทางการเปรียบเทียบไป
          เป็นในทิศทางเดียวกัน เพื่อท าให้แนวคิดที่ต้องการน าเสนอชัดเจนและเป็นอันหนึ่ง
          อันเดียวกันยิ่งขึ้น

                   จากการวิเคราะห์วิธีการซ้อนนิทานทั้ง 4 ลักษณะ จะเห็นได้ว่าการ
                                                                 ั
          ซ้อนนิทานมีผลต่อทั้งการเล่าเรื่อง คือท าให้เรื่องด าเนินไปหรือท าให้ปมปญหาใน
          เรื่องคลี่คลาย และมีผลต่อการน าเสนอค าสอนที่มีลักษณะต่างกันให้ชัดเจนและ
          น่าสนใจ นิทานซ้อนแต่ละเรื่องช่วยขยายความหรือยกตัวอย่างค าสอนที่แสดงให้
                               ั
          เป็นรูปธรรม หรือช่วยแสดงปญญาของตัวละครให้โดดเด่น ซึ่งสามารถตีความเป็น
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98