Page 178 -
P. 178

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


                     วารสารมนุษยศาสตร์ ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2557)   167

                1. ความส าคัญของปัญหาการวิจัย
                       ภาษาที่ใช้ในการเขียนนิตยสารและหนังสือพิมพ์มวยไทยนั้นมีลักษณะ

                และโครงสร้างพิเศษหลายประการ อาทิ การใช้ถ้อยค าหรือประโยคที่มีความหมาย
                ต่างไปจากความหมายเดิม ซึ่งลักษณะและโครงสร้างพิเศษดังกล่าวจะสื่อ
                ความหมายได้ไม่ดีเท่าที่ควรเพราะผู้อ่านไม่เข้าใจความหมายของประโยค (ณัฏฐิการ์
                แสงค า, 2538: 1) ดังบทบรรยายใต้ภาพข่าวในหนังสือพิมพ์มวยสยามรายวัน ฉบับที่
                                                              ั
                5648 ของวันที่ 7 มีนาคม 2552 กล่าวว่า “...เพชรบูญชูปล ้ำฟดรัดตีกะซวกเข่ำได้
                ดีกว่ำ ชนิดเข้ำในทีไรจอมทองดิ้นไม่หลุด ออกอำวุธไม่ถนัด..” โดยมีภาพประกอบ
                          ่
                                                        ่
                คือ นักมวยฝายแดงก าลังใช้มือทั้งสองข้างรั้งนักมวยฝายน ้าเงินเข้ามาและยกเข่า
                                     ่
                ของตนไปที่บริเวณท้องของฝายน ้าเงิน  หากพิจารณาเพียงค าบรรยายภายใต้ภาพ
                ข่าวข้างต้น ผู้อ่านอาจเข้าใจผิดได้ว่าโครงสร้างของประโยคนี้ ประกอบด้วย
                ประธาน “เพชรบุญชู” ตามด้วยกริยาหลายตัวเรียงกันและตามด้วยค านามเข่าใน
                                                                 ั
                ต าแหน่งกรรม และตีความหมายว่าเพชรบุญชู กระท ากริยาปล ้า ฟด รัด ตี กะซวก
                                                       ั
                ไปที่เข่าของคู่ต่อสู้ โดยที่เข่าของคู่ต่อสู้ ถูกปล ้า ถูกฟด ถูกรัด ถูกตี และถูกกะซวก
                แต่การตีความหมายดังกล่าวไม่เป็นที่ยอมรับในหมู่เจ้าของภาษา

                       ความหมายที่ถูกต้องของประโยคข้างต้น คือ นักมวย เพชรบุญชู ท ากริยา
                             ั
                ปล ้าอย่างหนึ่ง ฟดอย่างหนึ่ง รัดอย่างหนึ่ง ตีอย่างหนึ่งและกะซวกอย่างหนึ่งต่อคู่
                ต่อสู้ โดยใช้เข่ากระท ากริยากะซวกและตีคู่ต่อสู้  ดังนั้นค านามเข่าในประโยคนี้จึง
                ไม่ได้ท าหน้าที่เป็นกรรมของกริยาใด แต่เป็นอวัยวะที่นักมวยใช้เป็นอาวุธหลักเพื่อ

                ปะทะคู่ต่อสู้ เช่นเดียวกับอวัยวะหมัด เท้า ศอก

                       ตัวอย่างประโยคมวยไทยข้างต้น  ยังสอดคล้องกับค ากล่าวของชาญชัย
                เพชรวิหาร ฉายา “ปะหินกอง” ผู้บรรยายกีฬามวยไทยรายการศึกเจ้ามวยไทย
                นายขนมต้ม ศึกส าโรงและศึกมวยไทยมรดกโลก (ทักษิณา ณ ตะกั่วทุ่ง, 2541: 200)
                ซึ่งอธิบายว่า “กำรเลือกใช้ค ำในกำรพำกย์มวยไทยมีลักษณะที่แปลกไปจำกค ำที่ใช้

                กันในชีวิตประจ ำวัน และเป็นภำษำเฉพำะกลุ่ม มักเป็นที่เข้ำใจในกลุ่มผู้ชมรำยกำร
                มวยไทยและบุคคลที่อยู่ในแวดวงมวยไทยเท่ำนั้น”
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183